Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ18  
Positioning1  
ผู้จัดการรายวัน6  
ผู้จัดการรายสัปดาห์2  
PR News31  
Total 56  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > น้ำตาลมิตรผล, บจก.


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 18 items)
มิตรผลรุกทำไฟฟ้าจากชานอ้อยในจีน กลุ่มมิตรผลขยายศักยภาพผู้นำด้านพลังงานทดแทนสู่อุตสาหกรรมพลังงานใหม่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยงบลงทุนกว่า 1,300 ล้านบาท ก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 32 เมกะวัตต์ โดยใช้ชานอ้อยเป็นเชื้อเพลิง พร้อมทำสัญญา 15 ปีขายไฟ 30 เมกะวัตต์ให้กับรัฐบาลจีน คาดเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าได้ต้นปี พ.ศ.2554(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)
โอกาสของธุรกิจไทย ในแนวเส้นทางหมายเลข 9 หากเปรียบเทียบกับโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจทางตอนบนแล้ว โอกาสของนักธุรกิจไทยที่จะได้ประโยชน์จากพื้นที่ลาวตอนกลาง ตามแนวถนนหมายเลข 9 ของกรอบ EWEC ในภาคอีสาน มีความเป็นไปได้ในเชิงรูปธรรมมากกว่า เพียงแต่การเข้ามาลงทุนต้องตรงกับศักยภาพของพื้นที่และถูกช่องทางจริงๆ(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
อยากรวย เลิกหวย ปลูกอ้อย...ดีกว่า ถ้าหากมีผู้สมัครลงเลือกตั้งเป็น ส.ส.ผู้ทรงเกียรติคนไหนเข้าไปหาเสียงที่บ้านหนองดินดำ อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ แล้วเอานโยบายหาเสียงประเภทประชานิยมไปหว่านล้อมชาวบ้าน ไม่ว่าจะเป็นปลดหนี้เกษตรกร เรียนฟรีจะกี่ปีก็แล้วแต่ หรือสัญญาว่าจะแจกโคล้านตัวเพื่อหวังแลกกับคะแนนเสียง(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
“มี่เผิง” ลูกที่อาจจะโตแซงแม่ มิตรผลเข้าไปลงทุนธุรกิจน้ำตาลในประเทศจีน ตั้งแต่ปี 2536 ถึงวันนี้เป็นเวลา 13 ปีพอดี แต่คนทั่วไปกลับไม่ค่อยรับรู้เรื่องนี้มากนัก เพราะถ้าพูดถึงกลุ่มทุนไทยที่เข้าไปลงทุนในจีน คนส่วนมากมักจะคิดถึงเครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือซี.พี. เสียเป็นส่วนใหญ่ ทั้งๆ ที่บริษัท Guangxi Nanning East Asia Sugar หรือที่รู้จักกันในนาม "มี่เผิง" (Mipeng - เพื่อนของความหวาน) ที่มิตรผลเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกับรัฐบาลจีนประสบความสำเร็จอย่างมาก(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
จากน้ำตาลสู่พลังงาน หากเปรียบเทียบว่าช่วงวิกฤติเป็นช่วงที่มืดหม่น ดูเหมือนว่าตอนนี้จะเป็นช่วงที่ฟ้าเปิดและสดใสเป็นพิเศษสำหรับมิตรผล เพราะนอกจากผลผลิตน้ำตาลจะราคาดีเป็นประวัติการณ์แล้ว ยังมีโอกาสใหม่ๆ ที่น่าสนใจไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าน้ำตาลเพิ่มเข้ามาอีกด้วย นั่นคือเอทานอลและโรงไฟฟ้า(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
มิตรผล Not just sugar, but a model น้ำตาลมิตรผลเริ่มต้นมาจากกิจการเล็กๆ ในครอบครัว ผ่านมา 50 ปี ถึงวันนี้ก็ยังเป็นธุรกิจครอบครัวที่มีตระกูลว่องกุศลกิจเป็นเจ้าของเหมือนเดิม แต่ที่ต่างออกไปไม่ใช่แค่ขนาดที่ใหญ่ขึ้นเท่านั้น เพราะน้ำตาลมิตรผลในวันนี้เป็นองค์กรที่ทันสมัย มีรูปแบบการบริหารจัดการแบบสมัยใหม่ แถมยังเปิดรับแนวความคิดใหม่ๆ ต่างไปจากโรงงานน้ำตาลแต่ก่อนอย่างสิ้นเชิง(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
ลำดับเหตุการณ์สำคัญน้ำตาลมิตรผล ลำดับเหตุการณ์สำคัญน้ำตาลมิตรผล(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
น้ำตาลมิตรผล บังเอิญจนได้เรื่อง ปีนี้น้ำตาลมิตรผลฉลองครบรอบอายุ 50 ปี เป็นจังหวะที่ผ่านพ้นช่วงขาลงมาสู่ยุครุ่งโรจน์พอดี แถมเมื่อมองไปข้างหน้าฟ้าก็ยังเปิดเสียด้วย แทบไม่น่าเชื่อว่าจุดเริ่มต้นของน้ำตาลมิตรผล กลุ่มธุรกิจน้ำตาลที่ใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ของเอเชีย จะมีจุดเริ่มมาจากความบังเอิญ(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
จากรุ่นที่ 2 สู่รุ่นที่ 3 สิ่งหนึ่งที่คนในตระกูลว่องกุศลกิจกำลังให้ความสนใจมากในขณะนี้คือการจัดการภายในตระกูล ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ที่สะสมกันมาจากรุ่นที่สองไปยังรุ่นถัดไป หรือแม้แต่การผสมผสานลูกหลานที่ต้องการสานต่อธุรกิจของตระกูลเข้ากับมืออาชีพจากภายนอก โดยที่ไม่ขัดต่อความพยายามสร้างองค์กรให้ได้มาตรฐานและเป็นมืออาชีพ(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ วิกฤติเศรษฐกิจจากการลอยตัวค่าเงินบาทในปี 2540 ส่งผลกระทบต่อว่องกุศลกิจไม่น้อยเช่นกัน "เรากระทบมากจากหนี้ 8,000 ล้านขึ้นไปเป็น 14,000 ล้าน ดอกเบี้ย 25% คิดดูว่าจะอยู่ได้ไหม เราก็คิดว่าไปไม่รอดแล้ว ดูยังไงก็ไปไม่รอด" อิสระ ว่องกุศลกิจ กล่าวถึงสถานการณ์ของน้ำตาลมิตรผลในช่วงนั้น(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us