บทเรียนที่ไม่มีในตำราของชินเวศ สารสาส
มาถึงวันนี้ นักการเงินรุ่นใหม่อาจไม่คุ้นหูกับชื่อ “ชินเวศ สารสาส” เพราะเขาเก็บตัวเงียบมาตลอด 13 ปี นับแต่ “จีเอฟ” อาณาจักรการเงินครบวงจรที่เขาสร้างมากับมือได้ล่มสลายลงจากวิกฤติการเงินในปี 2540 ปรากฏารณ์ครั้งนี้สร้างแง่คิดและมุมมองที่เป็นประโยชน์อย่างไรกับเขาบ้าง เป็นเรื่องที่น่าศึกษา
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2553)
GF ยุคที่ 3 หยั่งรากลงลึก หรือดึงคนเเสริมทัพ
ปีนี้ใคร ๆ ก็รู้ว่าเป็นปีครบรอบ 30 ปีของ จีเอฟ หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ จี เอฟ จำกัด (มหาชน) โบรกเกอร์หมายเลข 20 ของตลาดหลักทรัพย์ ด้วยเหตุที่ว่า จีเอฟได้เตรียมการและโฆษณามาตั้งแต่ปีที่แล้ว เฉพาะในปีนี้ ทางผู้บริหารได้เพิ่มงบประชาสัมพันธ์ให้มากเป็นพิเศษถึง 10 ล้านบาท จากปีก่อน ๆ ที่อยู่ในวงเงินประมาณ 5 ล้านบาทเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2539)
ดร.ชัยพัฒน์ สหัสกุล องครักษ์พิทักษ์จีเอฟคนที่ 4
"องครักษ์พิทักษ์เสรี" เป็นฉายาที่ ดร.ชัยพัฒน์ สหัสกุล อดีตผู้ช่วยผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ได้รับตลอดเวลาที่ทำงานรับใช้ใกล้ชิดกับเสรี จินตนเสรีจนเป็นที่ทราบกันดี ดังนั้นเมื่อ 'นาย' ต้องลาออกตามวาระครบ 4 ปี ดร.ชัยพัฒน์ จึงตัดสินใจลาออกพร้อมนายหลังจากที่ตั้งท่าคิดจะออกตั้งแต่ปีนี้ และเบนเข็มหางานใหม่ทำ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
"แบงก์ใหม่ จะสอบผ่านกันสักกี่ราย ?"
คาดว่าต้นเดือนเมษายนนี้ คณะกรรมการจัดตั้งธนาคารพาณิชย์แห่งใหม่ของธนาคารแห่งประเทศไทย
กระทรวงการคลัง คงต้องเปิดรับสมัครผู้ประสงค์จะเปิดกิจการธนาคารพาณิชย์ใหม่อีกรอบหลังจากที่ทางคณะกรรมการฯ
ยังไม่สามารถพิจารณาให้ใบอนุญาตต่อผู้ยื่นขอจัดตั้งธนาคารได้ครบ 5 แห่ง ตามที่กำหนดไว้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
ณรงค์ชัย อัครเศรณี "คีนูรีฟ" แห่งจีเอฟยุคที่สาม
"ผมขอแนะนำตัวผม...ดร.ณรงค์ชัย นะครับ เดี๋ยวเพื่อนๆ นักข่าวจะจำไม่ได้
สำหรับผู้แถลงข่าวร่วมกับผมก็คือ คุณชายสุชาติจันทร์ ประวิตร ซึ่งท่านเป็นเพรสซิเดนท์
ท่านก็เพิ่งไปผ่าตัดหัวใจมา หน้าตาสดใสมาก หัวใจเก่าหายไปแล้ว มีหัวใจใหม่ที่สดใสแข็งแรง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2539)
ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี แล้ว "นำจีเอฟ" กับ "นำไทย" จะไปทางไหน?
เป็นประเพณีทุก ๆ กลางปีและปลายปี ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบงล. จีเอฟ จะโชว์เดี่ยวคาดการณ์แนวโน้มทางเศรษฐกิจของไทย สำหรับครึ่งปีหลังของรอบปีนี้เป็นที่คาดว่าจะขยายตัว 8.5% ได้ถ้าหากรัฐบาลใหม่มีประสิทธิภาพในการบริหาร เพราะการที่ส่งออกและการลงทุนภาคเอกชนจะเป็นตัวนำ และการใช้จ่ายในโครงการของรัฐบาลที่คั่งค้างจะมีความสำคัญสูง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
การกลับมาอีกของแบงก์ยักษ์ในธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์
ในรอบไตรมาสแรกของปี 2532 ได้เกิดปรากฎการณ์อย่างหนึ่งที่ส่อให้เห็นทิศทางการก้าวเดินของธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์ในบ้านเรา นั่นคือการต้อนรับสถาบันการเงินต่างชาติให้เข้ามาซื้อหุ้นร่วมทุนของบริษัทหลักทรัพยืและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์บางแห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)