"วินัย พงศธรกับสไตล์การทำธุรกิจที่ถนัด"ซื้อมาขายไป"
ต้องยอมรับกันว่าในระยะนี้ดวงของวินัย พงศธรแห่งกลุ่มเฟิร์สท์ แปซิฟิคแลนด์กำลังเฮงอย่างมากกับยุทธศาสตร์ทางธุรกิจด้วยวิธีการซื้อมาและขายไป หลังจากประสบความสำเร็จมาแล้วหลาย ๆ ครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2537)
กลยุทธ์เฟิร์สท์แปซิฟิคฯ หนทางลัดเข้าตลาดหุ้นไทย
เฟิร์สท์แปซิฟิคแลนด์พาร์ทเนอร์ส (FPLP) บริษัทที่ทำธุรกิจด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในเครือของกลุ่มเฟิร์สท์แปซิฟิคที่ฮ่องกง
เคยยื่นขอเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไป ตั้งแต่ 11 ธันวาคม 2533 ด้วยเหตุผลที่ว่าการทำธุรกิจด้านนี้จำเป็นต้องใช้เงินลงทุนมากและบริษัทพยายามที่จะใช้เงินกู้ให้น้อยลง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
ความยิ่งใหญ่ของกลุ่มเฟิร์สท์แปซิฟิค
คงจะเป็นเรื่องที่เข้าใจไม่ได้ในหมู่ผู้บริหารของกลุ่มเฟิร์สท์แปซิฟิค หากบริษัทในเครือไม่สามารถเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
มานูเอล ปังกิลินัน พยัคฆ์หนุ่มแห่งเฟิสท์ แปซิฟิค
เช้าวันหนึ่งของปี 1979 บนตึกที่ทำการของอเมริกันเอ็กซ์เพรสในฮ่องกง มานูเอลปังกิลินัน
ผู้จัดการฝ่ายวาณิชธนกิจวัย 33 ปีของอเมริกันเอ็กซ์เพรส มีนัดหมายกับแอนโทนี่
ซาลิม บุตรชายของมหาเศรษฐีชาวอินโดนีเซีย โซโดโนซาลิม หรือในอีกชื่อหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันมากกว่าชื่อแรก-ลิมซูเลียง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2533)
วินัย พงศธร หนึ่งในอาณาจักรเฟิสท์ แปซิฟิค
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นหนึ่งในห้าธุรกิจที่เป็นเป้าหมายการลงทุนของกลุ่มเฟิสท์แปซิฟิค
แม้รายได้จากธุรกิจนี้ในช่วงสองปีที่ผ่านมาจะมีสัดส่วนไม่ถึงหนึ่งเปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับรายได้ทั้งหมดของกลุ่มนี้
แต่ถ้าวัดในแง่การเติบโตทั้งทางด้านรายได้และกำไรแล้วเรียกได้ว่าเป็นธุรกิจที่มาแรงที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2533)
วอลเตอร์ ไมเยอร์ กับเวลาที่เหลืออยู่
บารมีของวอลเตอร์ ไมเยอร์ในเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ยังดำรงอยู่ เมื่อภาพการแต่งตั้งกรรมการผู้จัดการใหญ่คนใหม่ปรากฏขึ้น
ซึ่งเป็น ดร.อดุลย์ อมติวิวัฒน์ ในขณะที่เฟิร์ส แปซิฟิค ผู้ถือหุ้นนายใหญ่ยังไม่มีปฏิกิริยาออกมา
เป็นสิ่งที่น่าสงสัยว่า สัญญาสุภาพบุรุษที่เฟิร์ส แปซิฟิคให้ไว้กับไมเยอร์ในการที่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายการบริหารในเบอร์ลี่
ยุคเกอร์นั้นศักดิ์สิทธิ์เหนือผลประโยชน์จริงหรือ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)