ชาลอต โทณวณิก: “All I do...is quit”
"การทำงานในฐานะผู้บริหารมืออาชีพจะต้องไม่ยึดติดกับลาภยศสรรเสริญหรือหลงใหลในความสำเร็จ จึงอยากจะเลือกทางเดินเองว่าจะขอไปทำงานที่เป็นของตัวเอง เกรงใจคุณสุรางค์ (คุณแดง) มากเพราะถูกมองว่าจะมาแทนที่ ถูกหาว่ามีปัญหากับคุณแดงมาโดยตลอด...การลาออกของดิฉันก็พิสูจน์ว่า ดิฉันไม่ได้มีความคิดอยากจะเป็น "เจ้าแม่" ใดๆ หรือแทนที่ใครตามที่ถูกจับตาและปฏิเสธมาตลอด (แต่ไม่ค่อยมีใครเชื่อ)"
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2553)
เครื่องมือการตลาดที่ทรงพลัง
ความเปลี่ยนแปลงของเพลงลูกทุ่ง ทำให้สินค้าหลายประเภทต่างมองหาโอกาสใช้ช่องทางนี้มาเป็นเครื่องมือการตลาดใหม่ๆ รูปร่างหน้าตาของเพลงลูกทุ่งเปลี่ยนไปในทิศทางที่ทันสมัยขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
ปั้นนักร้องลูกทุ่งด้วย SMS
เวทีดาวรุ่งลูกทุ่งไทยแลนด์จัดมาเป็นปีที่ 3 แนวคิดก็เหมือนกับเรียลลิตี้ โชว์ที่เกิดขึ้น อย่าง AF หรือเดอะ สตาร์ แต่รายการนี้คือ AF ในภาคลูกทุ่ง รายละเอียดปลีกย่อยแม้จะต่างกัน แต่จุดมุ่งหมายเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
ดาวรุ่งลูกทุ่งไทยแลนด์ บันไดขั้นแรกนักร้องลูกทุ่ง
องค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของวงการลูกทุ่งก็คือนักร้อง การเสาะหาและโอกาสในการเป็นนักร้องลูกทุ่งในขณะนี้เปิดกว้างมากกว่าในอดีต จากเดิมที่กว่าจะเป็นนักร้องได้ต้องเหนื่อยยากในการไต่เต้า นักร้องรุ่นใหม่มีโอกาสในการตามฝันได้มากขึ้นและรวดเร็วขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
เมืองสำราญ (ของคนดู) ทุกข์หนักของคนทำ
ถ้าจะเริ่มนับหนึ่งในภารกิจหน้าที่ใหม่ของชาลอต โทณวณิก ในบริษัทมีเดีย ออฟ มีเดียส์ ต้องเริ่มต้นจาก 2 รายการ คือ เส้นทางเศรษฐี ทุกวันเสาร์ และเมืองสำราญทุกวันอังคาร เพราะทั้งสองรายการนี้คือ ผลงานที่จับต้องได้ของผู้บริหารชุดใหม่ที่เข้ามาตั้งแต่ต้นปี
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
ชาลอต โทณวณิก Take 2 ของชีวิต
การเข้ามารับบทประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ของชาลอต โทณวณิก ก็เปรียบเหมือนกับดาราดังๆ ที่จะต้องมีสักครั้งหนึ่งที่พลิกบทบาทการแสดงของตัวเองรับบทแปลกๆ ที่ไม่เคยเล่นมาก่อน เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีฝีมือและความพยายามอย่างสูงในการสร้างความสุขให้กับผู้ชม
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
ชาลอตบนเวทีมีเดียออฟมีเดียส์
เพิ่งจะผ่านพ้นข่าวคราวการจับมือกับระหว่างเสี่ยตา ปัญญา นิรันดร์กุล แห่งค่ายเวิร์คพอยท์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ เพื่อเปิดกิจการร่วมค้าภายใต้ชื่อ "เวิร์คมีเดีย" เพื่อร่วมกันผลิตรายการโทรทัศน์ และได้ดึงเอารายการ "ชิงร้อยชิงล้าน" ร่วมลงจอเงินช่องเจ็ดสีแทนช่องห้าของเดิมได้ไม่ถึงสัปดาห์
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)
ปัญญา นิรันดร์กุล "ถูกต้องคร้าบ..."
เด็กหนุ่มหน้าตี๋ อารมณ์ดี ในก๊วน "ซูโม่สำอาง" เมื่อ 20 ปีก่อน กลายมาเป็นเจ้าของรายการ
เกมโชว์ในระดับแถวหน้าในวันนี้ ด้วยสไตล์การทำธุรกิจที่เรียบง่าย ไม่ได้แตกต่างกับบุคลิกของเขานัก
ทุกอย่างไม่มีการวางแผน ไม่มีการวางเป้าหมายชัดเจน แต่มีวิธีคิดในการทำรายการที่
"แตกต่าง"
จนกระทั่งสามารถกาวขึ้นมาเป็น "ผู้นำ" อีกคนหนึ่งของวงการบันเทิงเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
Kantana The Experienced
จากคณะละครวิทยุเล็กๆ เมื่อ 52 ปีก่อน
วันนี้ กันตนากรุ๊ป กลายเป็นผู้ผลิตรายการโทรทัศน์รายใหญ่ของเมืองไทย
เป็นผู้นำในการนำเอาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้กับวงการบันเทิง
รวมทั้งคิดการใหญ่สร้างกันตนา มูฟวี่ ทาวน์ และมหาวิทยาลัยกันตนา
สถาบันด้านการแสดงแห่งแรกของประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
มีเดีย ออฟ มีเดียส์ TO BE CONTINUED
คติข้างเวทีคือ ไม่ว่าจะอยู่ในภาวะใด นักแสดงก็ต้องแสดง "มีเดีย ออฟ มีเดียส์"
ยามนี้จำเป็นต้องถือคติเดียวกับนักแสดง คือไม่ว่าภาวะตลาดโฆษณาจะเป็นเช่นไร
ก็ต้องเล่นได้ในทุกบท กล่าวได้ว่าธุรกิจโทรทัศน์เผชิญมรสุมครั้งประวัติศาสตร์
ซูเปอร์สตาร์อย่างกลุ่มมีเดียส์ จำเป็นต้องปรับตัวไปสู่ตลาดใหม่ๆ ซึ่งมี "มหาอำนาจ"
ยึดครองอยู่แล้ว นั่นคือตลาดเทปเพลงซึ่งจะเป็นแหล่งที่มาสำคัญของรายได้ในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2540)