"สำนักงานทรัพย์สินฯ แนะทางรอดการปรับตัวรับภาวะเศรษฐกิจ"
"วิกฤติการณ์ตอนนี้เป็นวิกฤติการณ์ด้านการเงิน" นี่คือข้อสรุปของจิรายุ
อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อันเป็นสำนักงานที่มีหุ้นส่วนอยู่ในบริษัทธุรกิจเอกชนหลายแห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
ธุรกิจ "มีเดีย" เผือกร้อนในมือทรัพย์สินฯ
ที่จริงแล้ว การขายหุ้นจำนวน 55% ในไอเอ็นเอ็น เรดิโอ นิวส์ ของสหศีนิมา
โฮลดิ้ง ในเครือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ให้กับบริษัทยูไนเต็ด
คอมมูนิเกชั่น อินดัสตรีส์ (ยูคอม) นับเป็นสูตรสำเร็จที่ลงตัวพอดีระหว่างธุรกิจ
3 กลุ่ม ยูคอม ไอเอ็นเอ็น และสำนักงานทรัพย์สินฯ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
ทุนสื่อสารเคลื่อนทัพ : ความหวั่นวิตกของทรัพย์สินฯ
หากจะตั้งคำถามกับ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในฐานะประชาชน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ว่า
คิดอย่างไรถึงได้ไปลงทุนในธุรกิจสื่อสารมากมายจิรายุก็อาจจะตอบดังเช่นที่เคยตอบหลายครั้งว่า "ไม่มีอะไร สำนักงานทรัพย์สินฯ เป็นเพียง silent partner"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
"ม.ร.ว. อคิน รพีพัฒน์ ผู้เดินงานของมวลชนของทรัพย์สินฯ"
ที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีอยู่ทั่วกรุงเทพฯ ประมาณว่า
1,000 ไร่ ศักยภาพของที่ดินเหล่านี้มีอยู่สูง เพราะส่วนมากอยู่ใจกลางเมือง
แต่ทว่าปัญหาที่ทำให้สำนักงานทรัพย์สินฯ ไม่สามารถลงมือพัฒนาที่ดินได้อย่างสะดวก
ก็เพราะว่าที่ดินเหล่านั้นถูกครอบครองอยู่แล้วและเป็นชุมชนแออัดกว่า 90%
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2537)
เปิดขุมทรัพย์ที่ดินสนง.ทรัพย์สินฯ
ปัจจุบันสำนักงานทรัพย์สิน ฯ มีที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครจำนวนไม่ต่ำกว่า 1,060,000 ตารางวา หรือ 2,650 ไร่ โดยที่ดินผืนใหญ่ที่สุด 300 ไร่อยู่บริเวณหลังวัดพระยาไกร บางรักนอกนั้น เป็นที่ดินประมาณ 10 ไร่ขึ้นไปในย่านธุรกิจการค้าเป็นส่วนใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
เปิดแดนสนธยาสนง.ทรัพย์สินฯ
นโยบายการลงทุนใหม่ ๆ และการปรับโครงสร้างการบริหารเริ่มเกิดขึ้นในสำนักงานทรัพย์สินฯ หลังจากจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เข้ามาเป็นผู้อำนวยการ ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่จิรายุบริหารรายได้มหาศาลของสำนักงานทรัพย์สินฯ เพิ่มพูนถึง 5 เท่าตัว เบื้องหลังการเติบโตนี้ มาจากการปรับปรุงระบบการบริหารสินทรัพย์ใหม่หมด พร้อม ๆ กับสร้างความสมดุลทางด้านรายได้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)