นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ พิพิธภัณฑ์แห่ง “ราก” ที่ (กำลัง) หายไป
หากถามถึงสิ่งที่ทำให้คนไทย (ส่วนใหญ่) ภูมิใจที่ได้เกิดเป็นคนไทย คำตอบแรกคงไม่พ้นการได้อยู่ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ไทย อันดับรองมาคือ ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย โดยมีความภูมิใจในเอกราชของชาติไทย ที่ไล่ตามมาติดๆ ...แต่ความภาคภูมิใจที่ไร้ซึ่ง "ราก" หยั่งด้วยสำนึกอย่างเข้าใจ ก็ไม่ต่างจากลัทธิ "ชาตินิยมไร้สติ" ที่ไม่เคยช่วยให้ประเทศชาติก้าวพ้นวิกฤติได้เลยสักครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
ทุนแห่งความรู้
การอรรถาธิบายยุทธศาสตร์ CPB ในปัจจุบัน มีความซับซ้อนมากพอควร คำว่า "ทุน" ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองที่นิยมใช้กันมาตั้งแต่ 25 ปีที่แล้ว คงจะไม่สามารถทำให้เรื่องนี้น่าสนใจ และสมเหตุสมผลได้เท่าที่ควร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
บทบาทชัดเจน
ปีนี้นับเป็นปีที่ 3 แล้ว ที่จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เปิดห้องประชุมเทเวศร์ เพื่อต้อนรับเหล่าบรรดาผู้สื่อข่าว ซึ่งไปร่วมฟังการแถลงข่าว ประจำปีของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2548)
The Last Jigsaw
หากเปรียบภาพของ core business ที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เคยประกาศว่าจะคงไว้เพียง 3 ธุรกิจ เป็นจิ๊กซอว์ขนาดใหญ่แล้ว การประกาศ rebrand เทเวศประกันภัยเมื่อปลายปีก่อนน่าจะเป็นจิ๊กซอว์ตัวสุดท้ายที่จะทำให้ภาพดังกล่าวมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2548)
บทบาทต่อสังคม
การแถลงข่าวประจำปีของสำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งปีนี้จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 ยังคงได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอย่างคับคั่ง บรรยากาศในห้องประชุมเทเวศร์ ซึ่งเตรียมที่นั่งไว้ประมาณ 100 ที่นั่ง จึงแน่นขนัดด้วยผู้สื่อข่าวจากสื่อทุกแขนง ไม่เว้นสื่อต่างประเทศอย่างสำนักข่าวนิคเคอิ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
Growth Symbol
การเปิดแถลงข่าวอย่างเป็นทางการ ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสำนักงานทรัพย์สิน
ส่วนพระมหากษัตริย์ เมื่อกลางเดือนมีนาคมปีนี้ถือเป็นการประกาศความพร้อมในการกลับมาทำธุรกิจเชิงรุกอีกครั้ง
หลังจากต้องเก็บตัวเงียบมากว่า 5 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
Once in My Life
"ไทยพาณิชย์" เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งที่ 3 ที่ ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย
มีโอกาสได้มานั่งในตำแหน่งผู้บริหารสูงสุด และดูเหมือนจะเป็นธนาคารเดียว
ที่เขาประสบความสำเร็จ สามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่เขาตั้งใจไว้มากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
ไอทีวีภาค 2ยุคชินคอร์ปครอง
ชินคอร์ปประสบความสำเร็จอย่างดีจากธุรกิจโทรคมนาคม การก้าวเข้าสู่ธุรกิจโทรทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดในการที่จะ
convergence เชื่อมโยงธุรกิจต่างๆ ในมือเข้าด้วยกัน สำหรับการสู่โลกใบใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
แต่ชินคอร์ปอาจลืมไปว่า ธุรกิจโทรทัศน์ไม่เหมือนกับธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ที่ไม่อาจใช้เพียงแค่กลไกของธุรกิจ
แต่จำเป็นต้องเข้าใจประสบการณ์ใหม่ ที่ชินคอร์ปยังต้องอาศัยเวลาในการเรียนรู้
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
New Look
ภาพกลุ่มอาคารเก่าแก่ภายในรั้วแน่นหนา ริมถนนราชสีมา ตรงข้ามหอประชุมคุรุสภา ซึ่งถูกใช้เป็นที่ตั้งของสำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ เมื่อหลายปีก่อนเคยถูกมองว่าเป็นแดนสนธยา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
One Stop Service
ห้องบริการลูกค้าแบบเบ็ดเสร็จ ครบวงจร ถือเป็นรูปแบบการทำงานที่ได้รับการปรับปรุงใหม่อย่างเป็นรูปธรรมที่สุด
ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)