ทำไมต้องนิวเคลียร์
ทุกวันนี้หลายๆ คนหลายๆ ฝ่ายเริ่มตระหนักแล้วว่า สถานการณ์พลังงานที่จำกัดเร่งรัดให้เราต้องหันมาพิจารณาพลังงานนิวเคลียร์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งๆ ที่รู้กันอยู่เต็มอกว่า การใช้นิวเคลียร์เป็นความเสี่ยงมากที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษยชาติ แต่เราก็ไม่มีทางเลือก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
Confidence of being a Regional Leader
แต่ก่อนเราอาจคุ้นเคยกับวลีที่ว่า "บริษัทน้ำมันแห่งชาติ" เมื่อมีการกล่าวถึง ปตท. แต่คำนิยามนี้ ดูเหมือนจะเล็กลงไปทันที เมื่อมองเห็นเป้าหมายที่ ปตท.ได้ตั้งใจไว้ว่าจะก้าวไปให้ถึง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
กฟผ. ได้เวลาบริหารขุมทรัพย์
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ มีขุมทรัพย์ที่สั่งสมมาตลอดระยะเวลากว่า 40 ปีขององค์กร คือ การครอบครองพื้นที่ท่องเที่ยวและบ้านพักจำนวนมากในบริเวณอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ และทีมบุคลากรที่มีความรู้ความชำนาญด้านพลีงงานไฟฟ้าระดับนำของภูมิภาค ขุมทรัพย์นี้กำลังถูกเปิดออกเพื่อใช้ประโยชน์ทางธุรกิจ ในขณะที่หน่วยงานแห่งนี้เป็นเป้าหมายสำคัญในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ Technocrat-Strategist?
เขาเป็นข้าราชการไทยที่ประสบความสำเร็จสูงสุดคนหนึ่ง
ในสายตาข้าราชการด้วยกัน ในฐานะที่ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งสูงด้วยวัยยังน้อยมากคนหนึ่ง
แต่ที่สำคัญไปกว่านั้น เขาเป็นข้าราชการไทยเพียงไม่กี่คน ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายสำคัญ
(Strategic Policy) เพื่อนำไปสู่การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมพลังงานไทย อย่างเบ็ดเสร็จภายในเวลาเพียง
7-8 ปี ภายใต้แรงเสียดทานที่รุนแรง นอกจากนี้ เขายังเป็นคนรุ่นใหม่ที่ผ่านการศึกษาอย่างดีที่สุดคนหนึ่ง
ที่หลงเหลืออยู่ในระบบราชการ เพียบพร้อมด้วยรากเหง้าของวงศ์ตระกูลรากฐานที่สุดหนึ่งในสังคมไทยที่ต่อเนื่องมา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
จุดเปลี่ยนกฟผ. จากองค์กรรัฐสู่เอกชน
ภาพรวมและองค์ประกอบของกระบวนการแปรรูปฯ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และโฉมหน้าใหม่ของของกฟผ. ภายหลังการแปรรูปกิจการไฟฟ้า
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
ข้อคิดจากวีระวัฒน์ ชลายน
บทสัมภาษณ์ วีระวัฒน์ ชลายน อดีตผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และภายหลังเกษียณ รับตำแหน่งประธานกรรมการ บมจ.ผลิตไฟฟ้า (EGCOMP) ได้แสดงความเห็นต่อกระบวนการแปรรูปกฟผ. ในแง่มุมหนึ่งที่น่าสนใจ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
Power Pool ทางเลือกของผู้ใช้ไฟฟ้า
แผนแม่บทการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ กำหนดให้มีการจัดตั้งตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้า (Power Pool) ในปี 2546 และจะเปิดให้มีผู้ค้าปลีกไฟฟ้าหลายราย ซึ่งผู้ใช้ไฟจะไม่จำเป็นต้องซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) อีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
โรงไฟฟ้าราชบุรี เข้าตลาดฯไตรมาส 3/2543
หลังจากที่ทะเลาะและขัดแย้งจนเหตุการณ์ลุกลามใหญ่โต ในที่สุดโครงการแปรรูปโรงไฟฟ้าราชบุรีก็ได้ข้อสรุปเรียบร้อยตามแนวทางของผู้บริหาร คาดว่าจะเป็น IPO รายการใหญ่ที่จะช่วยปลุกตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ในตอนปลายปีทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
แนวทางในการปรับโครงสร้างและการแปรรูปกิจการไฟฟ้า
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2539 คณะรัฐมนตรีได้ลงมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
(กพช.) เกี่ยวกับแนวทางในการปรับโครงสร้างและการแปรรูปกิจการไฟฟ้าของประเทศไทยดังต่อไปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)