รูดม่านวิทยุผู้จัดการเปิดฉากไอเอ็นเอ็น
ในที่สุดโครงการวิทยุผู้จัดการก็ถึงคราวต้องปิดฉากลง หลังจากที่เคยเพียรพยายามต่อลมหายใจมาแล้วหลายครั้ง
โครงการวิทยุผู้จัดการเป็นหนึ่งใน "สถานีข่าวสาร" ที่ถือกำเนิดขึ้นมาในช่วงที่คลื่นข่าวกลายเป็นแนวรบด้านใหม่บนหน้าปัดวิทยุ
อันเนื่องมาจากความตื่นตัวของข่าวสารที่กระตุ้นให้สถานีเพลงทุกค่ายต้องมีรายงานข่าวลงไปในสถานี
กลุ่มผู้จัดการเข้าสู่สื่อวิทยุเมื่อ 3 ปีที่แล้ว เริ่มต้นด้วยการร่วมมือกับบริษัทยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่นอินดัสตรีส์
จำกัด (ยูคอม) ที่ได้สัมปทานเช่าคลื่น 97.5 เมกะเฮิรตซ์มาจากองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.)
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
ธุรกิจ "มีเดีย" เผือกร้อนในมือทรัพย์สินฯ
ที่จริงแล้ว การขายหุ้นจำนวน 55% ในไอเอ็นเอ็น เรดิโอ นิวส์ ของสหศีนิมา
โฮลดิ้ง ในเครือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ให้กับบริษัทยูไนเต็ด
คอมมูนิเกชั่น อินดัสตรีส์ (ยูคอม) นับเป็นสูตรสำเร็จที่ลงตัวพอดีระหว่างธุรกิจ
3 กลุ่ม ยูคอม ไอเอ็นเอ็น และสำนักงานทรัพย์สินฯ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
สงครามบนหน้าปัดวิทยุ ถึงบทอวสาน คลื่นข่าว??
มืออาชีพทางด้านข่าวจากสิ่งพิมพ์เกือบทุกค่ายตบเท้าเข้าสู่ "คลื่นวิทยุ"
หลังจากพบว่าวิทยุก็เป็นอีกสื่อหนึ่งที่ตอบสนองความต้องการข่าวสารได้ไม่แพ้สื่ออื่นๆ
และยังอาจเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกกว่าสื่อประเภทอื่น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
สงครามหน้าปัด "สมบัติผลัดกันชม"
การเปลี่ยนสัมปทานคลื่นวิทยุในปี 2540 นี้ ได้สร้างความปั่นป่วนให้กับวงการอย่างมาก
การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้มีทั้งผู้ที่สมหวังและสูญเสียสำหรับรายใหม่ที่เพิ่งเข้ามาในวงการแบบใหม่ถอดด้ามมีด้วยกัน
2 รายคือบริษัทเจเอสแอล ที่ชิงคลื่น FM.102.5 MHz ของกองทัพอากาศไปจากบริษัทไอเอ็นเอ็นเรดิโอ
นิวส์ ได้ทั้งๆ ที่มีแบ็คอัพอย่างสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
"เอสอาร์ทีบีเอ็น ช่องทางข่าวสารใหม่ของไอเอ็นเอ็น"
สงครามด้านข่าวสารรุนแรงขึ้นเพียงใด นั่นย่อมหมายถึงว่าพัฒนาการด้านสื่อ
(MEDIA) ที่จะนำพาข่าวไปสู่สาธารณชนจะต้องรุนแรงขึ้นตามนั้นด้วย ดังนั้นวิวัฒนาการด้านสื่อจากวิทยุ
โทรทัศน์ วิทยุติดตามตัว โทรสาร โทรพิมพ์ ที่จะส่งข่าวสารไปแก่ผู้อยากรู้ข้อมูลนั้น
ก็มาถึงหัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญ ที่จะอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ในการส่งผ่านข้อมูลไปถึงผู้รับ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2537)