Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ248  
Positioning44  
ผู้จัดการรายวัน435  
ผู้จัดการรายสัปดาห์131  
PR News522  
Total 1249  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Economics


ผู้จัดการรายวัน (101 - 110 of 435 items)
สุชาติฟุ้งอัดอีก9หมื่นล้านหนุนอสังหา-SME-เกษตร คลังเตรียมอัดฉีดเงิน 9 หมื่นล้านบาทผ่านแบงก์รัฐเสริมสภาพคล่องเอสเอ็มอี อสังหาริมทรัพย์และภาคเกษตร ดีเดย์ 1 พ.ย.นี้ พร้อมถกหน่วยงานตลาดเงินตลาดทุนสร้างยุทธศาสตร์รับมือวิกฤต ขณะที่ 3 สมาคมอสังหาริมทรัพย์เข้าพบยื่น 5 มาตรการขยายมาตรการด้านภาษีสร้างความเชื่อมั่นผู้ประกอบการและผู้บริโภค กรมที่ดินยอมรับจัดเก็บรายได้ปีงบ'51 พลาดเป้า(ผู้จัดการรายวัน 28 ตุลาคม 2551)
น้ำมันดำดิ่ง-หุ้นโลกทรุด นักลงทุนยังผวาเศรษฐกิจถดถอย ความหวาดผวาเศรษฐกิจก้าวเข้าสู่ภาวะถดถอยทั่วโลก ยังทำให้ตลาดหลักทรัพย์ดำดิ่งอย่างแรงวานนี้(23) แม้รัฐบาลหลายประเทศออกมาตรการใหม่ๆ มุ่งปกป้องธุรกิจและธนาคาร ด้านน้ำมันดิบ ราคารูดลง 7% จนไม่ถึงบาร์เรลละ 67 ดอลลาร์แล้ว ก่อนดีดกลับขึ้นไปได้บ้าง รับการประชุมโอเปกวันนี้ ที่คาดจะมีการลดเพดานผลิต(ผู้จัดการรายวัน 24 ตุลาคม 2551)
สุชาติยืดค้ำเงินฝากอีก3ปี-ผู้ว่าฯธปท.ค้านลดค่าบาทอุ้มส่งออก ยืดเวลาคุ้มครองเงินฝาก 100% ออกไปอีก 3 ปี “สุชาติ” เตรีมถก “โอฬาร" พร้อมเตรียมค้ำประกันเงินกู้อินเตอร์แบงก์ให้ธนาคารเล็กที่จะเข้าไปกู้ธนาคารใหญ่ อ้างสร้างความเชื่อมั่นสถาบันการเงิน ผอ.สถาบันคุ้มครองเงินฝากเด้งรับแก้ไขกฎหมายยืดเวลาคุ้มครองเงินฝาก รมว.คลังยังจี้แบงก์ชาติใช้ทำให้บาทอ่อนค่าต่ำกว่าจริง 5% ช่วยเหลือส่งออกโตเป็น 2 เท่า หนุนจีดีพีสูงกว่า 4% "ธาริษา" สวนไปเพิ่มศักยภาพการส่งออกแทนที่จะให้แบงก์ชาติแทรกแซงค่าเงิน ยันเดินหน้าบาเซิล 2(ผู้จัดการรายวัน 21 ตุลาคม 2551)
ธปท.เกาะติด กำลังจ่ายคืน หนี้ครัวเรือน แบงก์ชาติเกาะติดความสามารถในการชำระหนี้ของภาคครัวเรือน ในภาวะที่เศรษฐกิจเปราะบาง ชี้ปัญหาซับไพรม์ในสหรัฐฯ อาจส่งผลต่อสภาพคล่องและคุณภาพสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ในอนาคต(ผู้จัดการรายวัน 20 ตุลาคม 2551)
ตลาดทั่วโลกหันไปวิตกภาวะเศรษฐกิจ หลังUS-ยุโรปเร่งบรรเทาปัญหา“แบงก์” แผนการกอบกู้ภาคการเงินมูลค่ารวมกันนับล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯที่รัฐบาลทั่วโลกจับมือกันประกาศออกมานั้นทำให้ตลาดเงินและตลาดทุนดีดกลับขึ้นมาได้เพียงไม่กี่วันเท่านั้น ก็หวนกลับไปติดลบเหมือนเดิม จากความกลัวว่าเศรษฐกิจภาคการผลิตที่แท้จริงของโลกจะถูกแรงสั่นสะเทือนทางการเงิน กระชากเข้าสู่ภาวะถดถอยรุนแรง(ผู้จัดการรายวัน 16 ตุลาคม 2551)
ทั่วโลกทุ่มเงินอุ้มแบงก์ ตลาดหลักทรัพย์ดีดขึ้น รัฐบาลประเทศต่างๆ ทั่วโลก ประกาศปฏิบัติการกอบกู้ช่วยเหลือระบบการเงินเมื่อวานนี้(13) โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาติยุโรปอนุมัติทั้งเงินกู้และเข้าซื้อหุ้นแบงก์ใหญ่ๆ รวมเป็นมูลค่าหลายแสนล้านดอลลาร์ ความเคลื่อนไหวเพื่อมุ่งยุติความตื่นตระหนกคราวนี้ มีผลทำให้ตลาดหลักทรัพย์ดีดทะยานขึ้นเป็นแถว(ผู้จัดการรายวัน 14 ตุลาคม 2551)
รัฐเข็น6มาตรการพยุงศก.-ธปท.ผวาดอลลาร์ล่องหน ครม.สมชายดิ้นออก 6 มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ฟุ้งวงเงินรวม 1.2 ล้านล้านรับมือวิกฤติการเงินโลก “โอฬาร” รู้เวลาเหลือน้อย บอกพร้อมลาออกหากมาตรการฯ ไม่ได้ผล ไล่บี้ทุกหน่วยงานทำตามเป้าหมาย ชง ครม.อนุมัติขยายวงเงินลดหย่อนภาษี RMF-LTF จาก 5 แสนเป็น 7 แสนบาท เข้าครม.วันนี้ ขณะที่แบงก์ชาติเผยสัญญาณร้ายตลาดล่วงหน้าไร้ธุรกรรมดอลลาร์ ต้องจับตาเป็นพิเศษ ห่วงผู้นำเข้า-ส่งออกต้นทุนพุ่ง(ผู้จัดการรายวัน 14 ตุลาคม 2551)
ทั่วโลกทุ่มเงินอุ้มแบงก์หนุนตลาดหุ้นดีดขึ้น รัฐบาลประเทศต่างๆ ทั่วโลก ประกาศปฏิบัติการกอบกู้ช่วยเหลือระบบการเงินเมื่อวานนี้(13) โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาติยุโรปอนุมัติทั้งเงินกู้และเข้าซื้อหุ้นแบงก์ใหญ่ๆ รวมเป็นมูลค่าหลายแสนล้านดอลลาร์ ความเคลื่อนไหวเพื่อมุ่งยุติความตื่นตระหนกคราวนี้ มีผลทำให้ตลาดหลักทรัพย์ดีดทะยานขึ้นเป็นแถว(ผู้จัดการรายวัน 14 ตุลาคม 2551)
ผักผลไม้ไม่กดดันเงินเฟ้อก.ย.เพิ่ม6% “ศิริพล”มั่นใจทั้งปี6.5-6.9%คุมได้แน่ เงินเฟ้อ ก.ย.เพิ่ม 6% สูงขึ้นในอัตราที่ลดลง ส่วนผัก ผลไม้แพงจากน้ำท่วม ไม่กดดันเงินเฟ้อมากนัก เหตุยังได้รับอานิสงค์จาก 6 มาตรการ 6 เดือนรัฐบาล และราคาน้ำมันตลาดโลกที่ปรับตัวลดลง “ศิริพล”มั่นใจเงินเฟ้อทั้งปีไม่เกิน 6.5-6.9% แน่นอน หลังผ่าน 9 เดือนสูงขึ้น 6.5%(ผู้จัดการรายวัน 3 ตุลาคม 2551)
คลังหั่นเป้าจีดีพีเหลือ5.1ปีหน้า4% คลังประกาศลดเป้าจีดีพีทั้งปีเหลือ 5.1 จากเดิมที่ประมาณการไว้ที่ 5.6 เหตุส่งออกวูบจากวิกฤตการเงินสหรัฐ ส่วนการบริโภคและลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ส่วนเป้าจีดีพีปีหน้าเหลือแค่ 4.0-5.0% ค่าเงินบาทจะเคลื่อนไหวที่ระดับ 33-35 บาทต่อดอลลาร์ เชื่อแบงก์ชาติตรึงดอกเบี้ยที่ 3.75% จนถึงสิ้นปี ในขณะที่ปีหน้าการเงินโลกจะยังคงมีความผันผวนต่อเนื่อง(ผู้จัดการรายวัน 26 กันยายน 2551)

Page: ..11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us