อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยยั่งยืน 2ล้านคัน.....ยังไม่ใช่คำตอบ!
ท่ามกลางภาพอันสวยสดงดงามของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ทั้งเรื่องของการผลิตรถได้ครบ 1 ล้านคันต่อปีก่อนกำหนด เช่นเดียวกับมูลค่าส่งออกอุตฯ ชิ้นส่วนยานยนต์ทะลุ 2 แสนล้านบาทต่อปี หรือการปรับเพิ่มเป้าหมายการผลิตเป็น 2 ล้านคันต่อปี ภายในปี 2553 ตามแผนยุทธศาสตร์ยานยนต์ไทย อาจจะทำให้เส้นทางสู่การเป็นดีทรอยต์แห่งเอเชียของไทยอยู่ใกล้แค่เอื้อม แต่นั่นหาใช่คำตอบของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยให้ยั่งยืนไม่!!
(ผู้จัดการรายวัน 2 มกราคม 2549)
พายัพ-จึงรุ่งเรืองกิจพัวพัน กลเกมไล่ราคา4หุ้นร้อน
เผย 4 หุ้นร้อน อีสเทิร์นไวร์-ซาฟารี-แอ๊ดคินซัน-แอ๊ดคินซันวอร์ 4-บีเอ็นที ล้วนมีขาใหญ่พัวพันการเมืองถือหุ้นใหญ่ "พายัพ ชินวัตร" "จึงรุ่งเรืองกิจ" แม่เหล็กเรียกรายย่อยเข้าติดพันราคาหุ้นพุ่ง โดยเฉพาะแอ๊ดคินซัน เป้าหมายเดินเกมล่อรายย่อยหวังปล่อยของแพงแต่ถ้าติดเองเปลี่ยน แผนเข้าเทกโอเวอร์ "กิตติรัตน์" ยันมี 10 หุ้นจาก 480 หุ้นใน ตลท. ที่มีขาใหญ่เงินหนาคุมเกม
(ผู้จัดการรายวัน 11 ตุลาคม 2548)
วาง5ยุทธศาสตร์พัฒนาอุตฯดันมูลค่ากว่า3.3 ล้านล้านปี52
ก.อุตสาหกรรมจับมือ ส.อ.ท.วางกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิด ชู 5 เรื่อง เร่งพัฒนาทั้งลอจิสติกส์ คลัสเตอร์ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มาตรฐาน และ FTA หวังก้าวสู่ยุทธศาสตร์สูงสุดมุ่งปั้นมูลค่าอุตสาหกรรมโตมากกว่า 3.3 ล้านล้านบาทในปี 2552 "สุริยะ" ยันไม่เปลี่ยนแปลงภาษีทองแดง พร้อมปรับสถาบันอิสระพนักงานหนาวมีสิทธิ์ถูกยุบ
(ผู้จัดการรายวัน 6 ตุลาคม 2548)
"สุริยะ"ไฟเขียวโซวกังตั้งโรงถลุงลุ้นร่วมทุนSSIดันไทยศูนย์กลาง
นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยถึงกรณีที่บริษัทโซวกัง อาซี(ประเทศไทย) จำกัดซึ่งเป็นบริษัทเหล็กของจีนอีกหนึ่งแห่งที่จะเดินทางมาพร้อมคณะนักธุรกิจจีนเพื่อประชุมคณะกรรมการร่วมไทย-จีนระหว่าง 21-23 ก.ย.นี้ ได้ยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนกิจการโรงถลุงเหล็กครบวงจรมูลค่ากว่า 1 แสนล้านบาทต่อสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) ว่า เรื่องดังกล่าวกระทรวงอุตสาหกรรมได้มอบหมายให้บีโอไอไปศึกษารายละเอียดแล้ว โดยนโยบายของรัฐบาลยืนยันที่จะไม่ปิดกั้นการลงทุนสำหรับกิจการโรงถลุงเหล็กที่เป็นการลงทุนในกิจการต้นน้ำแต่อย่างใด
(ผู้จัดการรายวัน 21 กันยายน 2548)
จีอีฯ ถกสุริยะล้างภาพซีทีเอ็กซ์
"จีอี อินวิชั่น" บินลัดฟ้าเข้าพบ "สุริยะ" เจรจาซื้อ-ขายเครื่องซีทีเอ็กซ์โดยตรง สุริยะได้ทีคุยฟุ้ง จีอีเชื่อมั่นในความโปร่งใสของรัฐบาล เผยได้คุยถึงแนวทางขายตรงและเร่งรัดส่งมอบเครื่องให้เร็วที่สุด พร้อมถือโอกาสเคลียร์ข้อครหา ให้บทม.จ่ายเงินทั้งที่ไม่ได้เครื่อง
(ผู้จัดการรายวัน 7 กรกฎาคม 2548)
เชลุยแหลกแฉเบาะแสสินบนCTX
เสี่ยเชยอมรับ เคยพบ "ศรีสุข จันทรางศุ" เสนอรายละเอียดเครื่องซีทีเอกซ์ ระบุคนตัดสินใจซื้อไม่ใช่บอร์ด บทม. ถาม "สุริยะ" รู้เรื่อง ก.ล.ต. สหรัฐฯ สอบตั้งแต่ปลายปี เก็บเงียบไว้ทำไม ชี้ส่วนต่าง 600 ล้านบาท ต้องไปถามไอทีโอ. "อภิสิทธิ์" นัดกินข้าว "บรรหาร" วันนี้ ก่อนแถลงเรื่องอภิปรายไม่ไว้วางใจ
(ผู้จัดการรายวัน 13 มิถุนายน 2548)
ครม.จ้องโละจีอีอินวิชัน
"ทักษิณ" พร้อมโละทิ้ง "จีอีอินวิชั่น" ฐานทำไทยเสียชื่อกรณีเครื่องเอกซเรย์สนามบินสุวรรณภูมิ ชี้ค่าปรับเรื่องเล็ก ชื่อเสียงเรื่องใหญ่ ลั่นพร้อม สู้ทุกศาลหากมีการฟ้องร้อง "วิษณุ" ระบุ ครม.มีมติให้เคลียร์เรื่องให้ชัดเจนก่อน พร้อมยกเลิกสัญญาแม้จะทำให้ล่าช้าและได้ของที่ด้อยคุณภาพกว่า มอบ "อัยการสูงสุด" หาช่องฟ้องกลับ ด้านผู้บริหารแพทริออตแกล้งนักข่าวแก้เผ็ดกรณีเสนอข่าว ฝ่ายค้านแขวะ "ทักษิณ" รีบออกมาปกป้อง "สุริยะ" ระวังคนจะเข้าใจผิดว่ากินปูนร้อนท้อง
(ผู้จัดการรายวัน 4 พฤษภาคม 2548)
ปรับแผนซื้อคืนรถไฟฟ้าตั้งหลักรอหลังต่อขยาย
"สุริยะ" ปรับแผนซื้อคืนหุ้นรถไฟฟ้า ประเมินสถานการณ์หลังมีกระแสข่าวคน ในรัฐบาลไม่เห็นด้วย เพิ่มทางเลือก ตัดสินใจซื้อ 100% ซื้อบางส่วน หรือไม่ซื้อเลย 14 ธ.ค.หารือเรื่องเงินกับคลังก่อนให้คำตอบ คาดสรุปไม่ได้อาจต้องชะลอการซื้อหุ้นออก ไปจนกว่าจะสร้างรถไฟฟ้า 294 กม.เสร็จ
(ผู้จัดการรายวัน 13 ธันวาคม 2547)
"สุริยะ"ไม่สน"คีรี"ขวางยันซื้อBTS3.4หมื่นล้าน
"สุริยะ" ไม่สนท่าที "คีรี" อ้างปรับโครงสร้างหนี้ล่าช้า เผยเดินหน้าเจรจาซื้อคืนสัมปทานรถไฟฟ้าบีทีเอสกับผู้ถือหุ้นรายอื่นต่อ หลังเจ้าหนี้ยอมลดหนี้ให้ 45% คาดใช้เงินซื้อทั้งโครงการประมาณ 34,000 ล้านบาท มั่นใจภายในสิ้นปีซื้อคืนเรียบร้อย เผยตัวเลขบัญชี บีทีเอส ขาดทุนแถมไออาร์อาร์ต่ำ ส่งผลราคาหุ้นซื้อคืนหุ้นละ 5 บาท
(ผู้จัดการรายวัน 15 กรกฎาคม 2547)
คีรีเผยไต๋ไม่ขายบีทีเอสโอดรัฐเอาเจ้าหนี้มาบีบ
เจรจานัดแรกซื้อคืนสัมปทานเดินรถระบบรางส่อเค้ารัฐบาลเจองานหนัก "คีรี กาญจนพาสน์" เผยไต๋ไม่ยอมขายสัมปทานบีทีเอส โอดรัฐไม่เห็นความยากลำบากของเอกชน ติงไม่ควรใช้วิธีซื้อหนี้มาบีบ เอาคืน ยันมีศักยภาพพอที่จะแก้หนี้-ขยายกิจการเองได้ ขณะที่รัฐบาลยันไม่ได้บีบหรือรังแก เผยเหตุต้อง รวบ "บีทีเอส-รถไฟฟ้าใต้ดิน" เพราะหวังจัดการแบบหนึ่งเดียวเพื่อกดราคาโดยสารให้ถูกลง
(ผู้จัดการรายวัน 14 กรกฎาคม 2547)