เอเชียบอนด์2คลอดธ.ค. ดันเป็นหัวข้อหลักเอเปก
"สมคิด" คาดกองทุนพันธบัตรเอเชีย กอง 2 คลอด ธ.ค.นี้อีกพันล้านดอลลาร์เท่ากองแรก
เน้นลงทุนพันธบัตรสกุลเงินเอเชีย พร้อมดันพันธบัตรนี้เป็นหัวข้อหลักในเอเปก "ทักษิณ"
มั่นใจพันธบัตรเอเชียจะเข้มแข็งภายใน 1 ปี ด้านหม่อมอุ๋ย แนะตั้งกอง 3 รองรับอินเดีย
ขณะที่กองแรกลงทุนแล้ว 800 ล้านดอลลาร์
(ผู้จัดการรายวัน 17 ตุลาคม 2546)
2ปีBBLลดNPLเหลือ5%ใบโพธิ์ขอ3ปีกวาดหนี้เน่าแสนล.ทิ้ง
"ชาติศิริ โสภณพนิช" บิ๊กแบงก์กรุงเทพ (BBL) หวังอีก 2 ปีข้างหน้า หนี้เน่าแบงก์ลดเหลือ
5% หรือประมาณ 3.36 หมื่นล้านบาท จากปัจจุบัน 23% ตัดภาวะถ่วงธุรกิจและรายได้ โชว์ยุทธศาสตร์จัดกลุ่มลูกค้า
4 กลุ่มทำกลยุทธ์ดูแลตามเป้าหมาย
(ผู้จัดการรายวัน 8 ตุลาคม 2546)
ธ.กรุงเทพยอมรับคลังเข้าบริหารแผน"ทีพีไอ"
ร.อ.สุชาติ เชาว์วิศิษฐ กล่อม "แบงก์กรุงเทพ" เจ้าหนี้รายใหญ่ฝ่ายไทย ยอมรับให้
คลังเข้ามาเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟู กิจการ "ทีพีไอ" ตามคำสั่งของศาล ล้มละลายกลาง
เชื่อว่าจะสะสางปัญหาต่างๆ ได้ ด้านกระทรวงการ คลังเตรียมเสนอรายชื่อผู้บริหารแผนฟื้นฟูให้นายกรัฐมนตรีพิจารณา
เร็วๆ นี้
(ผู้จัดการรายวัน 24 มิถุนายน 2546)
แบงก์กรุงเทพเริ่มอ่อนTPIคลังยันรายใหม่เตรียมเสียบ
ชาติศิริยอมรับเจ้าหนี้ต้องรับคำตัดสินศาลที่ให้คลังบริหารแผนฟื้นฟูฯทีพีไอ ขณะที่คลังยันนักลงทุนรายใหม่เตรียมเสียบ
หากเจ้าหนี้รายใดงอแง ขณะที่หุ้นพุ่งวานนี้ รับข่าวคลังเตรียมรวบทีพีไอเบ็ดเสร็จ
ขณะที่ข่าวลือสะพัดว่าเจ้าหนี้จะยื่น ฟ้องอาญาองค์คณะผู้พิพากษา และอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลล้มละลายกลาง ฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่
(ผู้จัดการรายวัน 19 มิถุนายน 2546)
กองทุนตปท.สนใจแบงก์ หลังปรับตัวดีแก้หนี้เสีย
นายชาติศิริ โสภณพนิช กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ ในฐานะประธานสมาคมธนาคารไทย
เปิดเผยว่า ได้มีโอกาสเดินทางไปโรดโชว์ในต่างประเทศร่วมกับนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์
โดยในฐานะตัวแทนของกลุ่มธุรกิจสถาบันการเงิน โดยในการโรดโชว์ดังกล่าว ปรากฏว่าภาคสถาบันการเงินได้รับความสนใจจาก
(ผู้จัดการรายวัน 11 กุมภาพันธ์ 2546)
แบงก์กรุงเทพสู้ศึก ปิดทาง KTBดึงลูกค้า
แบงก์กรุงเทพเปิดศึกรับการแข่งขันกับ ธนาคารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะกรุงไทยหวังแย่งตำแหน่ง
ผู้นำทางด้านการตลาด ปรับกลยุทธ์ตั้งหน่วยงานดูแลสินเชื่อ 4 ประเภท พร้อมยืนยันไม่เพิ่มทุน-ไม่จ่ายเงิน
ปันผลให้ผู้ถือหุ้นลุ้นราคาในตลาดเอง ขณะที่สลิปส์และแคปกว่า 4.6 หมื่นล้านบาทไม่ต้องเร่งชำระ
เพราะหมดอายุปี 2549 ปีนี้เน้น นโยบายบริหารระมัดระวังต่อเนื่อง เพราะความไม่แน่นอนหลายปัจจัย
(ผู้จัดการรายวัน 27 มกราคม 2546)