Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ47  
Positioning65  
ผู้จัดการรายวัน64  
ผู้จัดการรายสัปดาห์26  
PR News665  
Web Sites2  
Total 843  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ทรู คอร์ปอเรชั่น, บมจ.


ผู้จัดการรายวัน (41 - 50 of 64 items)
"ทรู" ลุยหนักตลาดWi-Fiครึ่งปีหลังจับมือเอ็มวีให้ลูกค้าใช้ฟรี300นาที ทรูกระตุ้นการใช้งาน Wi-Fi อินเทอร์เน็ต ด้วยการจับมือเอ็มวี คอมมิวนิเคชั่นส์ ให้ลูก ค้าที่ซื้อเราเตอร์ไร้สายพร้อม Wi-Fi ยี่ห้อไซเซล สามารถทดลองใช้ Wi-Fi ฟรี 300 นาที ตามแผนครึ่งปีหลังที่ต้องการขยายฐานลูกค้า Wi-Fi ให้เติบโตเท่าตัว พร้อมขยายจุดให้บริการ เป็น 400 จุดทั่วกรุงเทพฯ(ผู้จัดการรายวัน 3 สิงหาคม 2548)
ทรูเปิดบริการ "eBook World" จับตลาดแมกกาซีนออนไลน์ ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ให้บริการ eBook เสริมศักยภาพบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต ที่ทรูเป็นเจ้าตลาด หวัง 3 ปีธุรกิจคอนเทนต์ แอปพลิเคชันเติบโตไม่ต่ำกว่า 3 พันล้านบาท(ผู้จัดการรายวัน 2 สิงหาคม 2548)
กลุ่มทรูจับมือบัตรเครดิต 3 แบงก์ ขยายบรอดแบนด์กระตุ้นรายได้ ทรูจับมือบัตรเครดิต 3 ธนาคาร เปิดแคมเปญ "Pay less:Get more" หวังใช้ฐานลูกค้าบัตรเครดิตที่มีไลฟ์สไตล์ใกล้เคียงกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต ช่วยเพิ่มลูกค้าบรอดแบนด์ทรูอีก 2 หมื่นรายภายในสิ้นปี ซึ่งเป็นการเพิ่มรายได้ต่อเลขหมายและกระตุ้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วที่สูงขึ้น(ผู้จัดการรายวัน 21 กรกฎาคม 2548)
ทรูขายแฟรนไชส์ร้านเน็ตต้นปีหน้าพร้อมเปิด 100 สาขาภายใน 18 เดือน ทรู ปรับแผนให้บริการร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ หลังได้รับการตอบรับอย่างดีจากร้านแรก "True at Kaosan" เตรียมขายแฟรนไชส์ต้นปีหน้าเร็วกว่ากำหนด 6 เดือน พร้อมขยาย 100 สาขาทำเองใน 18 เดือน ด้วยงบลงทุนปีแรกประมาณ 100 ล้านบาท ชูความแตกต่างเป็นร้านเน็ตที่ขายคอนเซ็ปต์การตกแต่งร้านเป็นจุดเด่นให้ผู้ใช้เป็นกันเองเหมือนอยู่ในบ้านแห่งที่ 3(ผู้จัดการรายวัน 11 กรกฎาคม 2548)
เอชพีพลิกโฉมการตลาดโน้ตบุ๊กใหม่ ผนึกพันธมิตรจัดโซลูชันเฉพาะกลุ่ม เอชพีปรับโฉมการตลาดโน้ตบุ๊กจากมุ่งขายโปรดักส์มาเป็นการเสนอโซลูชันพร้อมใช้ครบวงจรให้กับลูกค้า มองการการเติบโตของ Mobility สื่อสารไร้สายเคลื่อนที่ที่โตวันโตคืนเป็นเป้าหมายขยายตลาดโน้ตบุ๊กไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ด้วยนโยบายในการจับมือกับพันธมิตรคอร์สเซ็กชันการตลาดเป็นครั้งแรก ชี้เอ็นเทอร์เทนเมนต์เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะได้รับความสนใจของตลาดโน้ตบุ๊กในปัจจุบัน ทั้งมีแนวโน้มที่โตมากกว่ากลุ่มอื่น(ผู้จัดการรายวัน 4 กรกฎาคม 2548)
"ดีแทค-ทรู"ถล่มกทช. ดีแทค-ทรู ประสานเสียงถล่มกทช. เรื่องการออกใบอนุญาตต้องเท่าเทียมและเป็นธรรม ไม่ควรรีบร้อนและต้องปลดแอกเอกชนจากสัญญาร่วมการงาน ซึ่งกทช.สามารถทำได้ด้วยการกำหนดในเงื่อนไขใบอนุญาต เตรียมแผน B ตั้งบริษัทขอใบอนุญาตใหม่ โอนลูกค้าเดิมเช่าโครงข่าย ด้านประธานกทช.ย้ำใบอนุญาตจะไม่ทำให้ทีโอทีและกสท ผูกขาดในลักษณะเอกชนคุมเอกชน(ผู้จัดการรายวัน 9 มิถุนายน 2548)
ทรูเปิดไลฟ์สไตล์ชอปชิมลางที่ถนนข้าวสาร ทรูเปิดตัวไลฟ์สไตล์ชอป ภายใต้คอนเซ็ปต์ใหม่ Sip & Surf แหล่งนัดพบที่มีทั้งสาระบันเทิงและประสบการณ์ผ่านเทคโนโลยีสื่อสาร เติมเต็มความต้องการของคนเมืองยุคใหม่ ตั้งเป้าเปิด 5-6 สาขาภายในปีนี้(ผู้จัดการรายวัน 6 มิถุนายน 2548)
ทีโอทีฟ้องทรู 7 คดี 1.8 หมื่นล้าน ทีโอทีฟ้องทรู 7 คดีเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการ เรียกค่าเสียหายกว่า 1.8 หมื่นล้านบาท นายปริญญา วิเศษสิริ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีโอที กล่าวว่าทีโอทีได้รวบรวมคดีข้อพิพาทที่จะเรียกร้องความเสียหายจากบริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น คู่สัญญาร่วมการงาน ที่ดำเนินธุรกิจละเมิดสัญญาถึง 9 คดี โดยได้ยื่นเข้าอนุญาโตตุลาการและประเมินค่าเสียหายไปแล้ว 7 คดี(ผู้จัดการรายวัน 2 มิถุนายน 2548)
ท่ามกลางสมรภูมิ"สงครามราคามือถือ" โทร.พื้นฐานสร้างบริการเพิ่มเสริมรายได้ ผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานเร่งสร้างบริการเสริมโดยอาศัยโครงข่ายที่มีอยู่หวังเพิ่มรายได้หลักหลังสงครามราคามือถือที่ถล่มกันหนักถึงนาทีละ 25 สตางค์ กลุ่มทรูเน้นบริการอินเทอร์เน็ต และบรอดแบนด์เป็นตัวเสริม ขณะที่ทีโอทีอัดโปรโมชัน Pin Phone 108 โทร.ทางไกล โทร.เข้ามือถือนาทีละ 2 บาท พร้อมหั่นราคา TOT Crad จาก 100 บาท เหลือ 90 บาท พร้อมสิทธิโทร.ทั่วไทยนาทีละ 1 บาท(ผู้จัดการรายวัน 31 พฤษภาคม 2548)
"ศุภชัย" ชี้รัฐมี 2 ทางเลือกแข่งเสรีโทรคมซื้อสัมปทานคืนกับแปรสัญญาสัมปทาน " ศุภชัย" ย้ำชัดรัฐจะแข่งเสรีในกิจการโทรคมนาคมมี 2 ทางออกคือ ซื้อสัมปทานที่ให้เอกชนไปคืนเหลือไลเซนส์เดียวกับแปรสัญญาสัมปทาน ส่วนสงครามราคามือถือตีกันคู่แข่งหากลงมาบี้ มีโอกาสดัมป์ราคาอีก ล่าสุดวัดดวงกับธุรกิจเน็ตคาเฟ่รูปแบบใหม่ หวังเสริมบริการบรอดแบนด์ ตั้งเป้าปีหน้า 100 สาขา(ผู้จัดการรายวัน 26 พฤษภาคม 2548)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us