กองทุนสำรองฯ1แสนล้านจ่อตีทะเบียนบลจ.กรุงไทยตั้งเป้าบริหารเพิ่ม2หมื่นล้าน
เผยยอดกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่นายจ้างจ่อคิวตีทะเบียนจัดตั้งมีกว่า 1 แสนล้านบาท บลจ.กรุงไทยในฐานะเบอร์ 1 ธุรกิจบริหารจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตั้งเป้าคว้าเม็ดเงินบริหารเพิ่ม 2 หมื่นล้านบาท ภายในปีนี้ "ประภา" เชื่อมั่นลูกค้าให้การตอบรับในฝีมือบริหาร ขณะที่บลจ.ทหารไทยซุ่มเปิดตัว Feeder Fund
(ผู้จัดการรายวัน 21 กุมภาพันธ์ 2548)
บลจ.กรุงไทยเตรียมลุยจีน
บลจ. กรุงไทย (KTAM) ในเครือแบงก์กรุงไทย (KTB) พร้อมสู้ศึกแข่งดุ ทุนหนา หลังได้พันธมิตรปึ๊กอย่างเครือซีพี พร้อมบริหารสินทรัพย์ 1.5 แสนล้านบาท แถมพร้อมลุยจีนปีหน้า
(ผู้จัดการรายวัน 19 กรกฎาคม 2547)
ทรีนิตี้เล็งลงทุนจีนผ่านบลจ.กรุงไทย
ทรีนิตี้ วัฒนาเล็งเข้าลงทุนในจีนอาศัยบลจ.กรุงไทยเป็นตัวเชื่อม พร้อมกำลังศึกษา ที่จะเข้าลงทุนในธุรกิจที่สามารถเอื้อธุรกิจได้ หรือธุรกิจที่มีแนวโน้มดีและให้ผลตอบแทนในระดับน่าพอใจ ขณะที่โบรกเกอร์ประเมิน หุ้นทรีนิตี้ วัฒนาว่าเหมาะสำหรับการซื้อเพื่อเก็งกำไร
(ผู้จัดการรายวัน 2 กรกฎาคม 2547)
KTBจับมือพันธมิตรรุกจีนเต็มสูบ
กรุงไทยได้ฤกษ์เซ็นเอ็มโอยู 3 ฉบับรวด ผนึกกำลังกับยักษ์ใหญ่ เครือซีพี-ทรีนีตี้ วัฒนา-BDB เตรียมขยายธุรกิจเดินหน้ารุกสู่ประเทศจีนเต็มตัว พร้อมขยายช่องทางจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงินกับเซเว่นฯ แย้มอาจเปิดทาง ให้เซเว่นฯ เปิดสาขาที่แบงก์ได้
(ผู้จัดการรายวัน 29 มิถุนายน 2547)
ประชัยไม่มีเงิน-ดึงTPIซื้อหุ้นคืน
"ประชัย" เผยไม่มีเงินส่วนตัวมากพอซื้อหุ้นTPI คืนมูลค่า 670 ล้านเหรียญ แต่จะใช้บริษัทลูกหนี้ซื้อหุ้นแทน อ้างเงินส่วนตัวอยู่ในบริษัทและไม่เคย ไซฟ่อนเงิน ด้านกองทุนวายุภักษ์ สนใจถือหุ้น TPI แต่ต้องรอให้เข้า ตามหลักเกณฑ์ก่อน ชี้เป็นหุ้นที่มีสภาพคล่องและพื้นฐานดี ขณะที่เจ้าสัวซีพี "ธนินท์ เจียรวนนท์" ปฏิเสธข่าวจะเข้าไปถือหุ้น TPI
(ผู้จัดการรายวัน 29 มิถุนายน 2547)
สำรวจQ2บลจ.แห่ออกกองทุนหุ้น
ผลสำรวจไตรมาส 2 ปี 47 บรรดาบลจ.ได้วางแผนออกกองทุนหุ้น-ผสม-หนี้ ไว้แล้ว ค่ายกรุงไทยออกกองทุนเปิดหุ้นผสมตราสารหนี้, กสิกรไทยจับมือ กบข.ออกลงทุนนอกประเทศ, ทหารไทยตั้งใหม่ 4 กองเน้นกองหุ้น, บีโอเอ-ไทยพาณิชย์
อยู่ระหว่างการศึกษา, ขณะที่ธนชาติออก 2 กองทุนใหม่
(ผู้จัดการรายวัน 16 เมษายน 2547)
วายุภักษ์1ลุยตลาดหุ้นขุนคลังปฏิเสธเข้าพยุง-หวังเพิ่มผลตอบแทน
บอร์ดกองทุนรวมวายุภักษ์ 1 อนุมัตินำเงิน 3 หมื่นล้านบาท เข้าลุยลงทุนหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ฯ
ระบุเบื้องต้นลงทุนในหุ้นที่กระทรวงการคลังถือหุ้น หรือหุ้นรัฐวิสาหกิจที่แปรรูป
หลังจากที่สำนักงาน ก.ล.ต. ยืนยันสามารถนำเงินไปลงทุนในตลาดหุ้นได้ ด้านรมว.คลัง
"สมคิด จาตุศรีพิทักษ์"ปฏิเสธการเข้าพยุงตลาดหุ้น เพียงต้องการเพิ่มผลตอบแทนให้กับผู้ถือหน่วยเท่านั้น
(ผู้จัดการรายวัน 1 เมษายน 2547)
บัวหลวงไถ่แคปส์ NAV หด
บลจ.เครือรัฐกลับมาผงาด "เอ็มเอฟซี" คว้าเบอร์หนึ่งบลจ.ที่บริหารกองทุนทุกประเภทมากสุด
ขณะที่ "กรุงไทย" แซงลิ่วขึ้นมาเป็นบลจ.ที่บริหารกองทุนรวมมากสุดอันดับหนึ่งหลังได้
"กองทุนวายุภักษ์" หนุน
(ผู้จัดการรายวัน 1 มีนาคม 2547)
เอ็นเอวีวายุภักษ์12บาทแล้ว
คลังรับโอน 70,000 ล้านบาท จาก 2 บลจ. ที่ใช้กองทุนวายุภักษ์ 1 ซึ่งมีเอ็นเอวีแล้วหน่วยละ
12 บาท ซื้อหลักทรัพย์ 11 ตัวของคลัง พร้อมจ่าย 30,000 ล้านบาท จองซื้อหน่วยลงทุนกองทุนฯ
ส่วน 40,000 ล้านบาทที่คลังเหลือสุทธิ เตรียมไถ่ถอนพันธบัตรรัฐบาล 25,075 ล้านบาท
ที่เหลือเป็นรายได้ส่งรัฐ ด้านกองทุนรวมวายุภักษ์ 2 ต้องรอดูนโยบายรัฐ
(ผู้จัดการรายวัน 2 ธันวาคม 2546)
วายุภักษ์เข้าตลาดฯก.พ.คุยผลตอบแทนปีนี้7%
กองทุนวายุภักษ์ จะเร่งนำหน่วยลงทุนเข้าซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์ภายในปลาย ก.พ.
47 จากเดิมที่กำหนดจะเริ่มซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์ 3 ปีข้างหน้า เนื่องจากต้องการเพิ่มสภาพคล่องให้ผู้ถือหน่วย
วายุภักษ์ขายหมด "นิพัทธ" เผยรายย่อยน้อยกว่าเป้า หมายแต่มากที่สุดเมื่อเทียบกองทุน
อื่นในไทย ระบุผลตอบแทนสูงกว่า พันธบัตร สามารถขายได้ในตลาด รอง ชี้ปีนี้ได้ผลตอบแทนกว่า
7%
(ผู้จัดการรายวัน 21 พฤศจิกายน 2546)