ลีวายส์ปั้นแบรนด์ใหม่ป้อนเอเชีย
ชื่อของซับแบรนด์ หรือแบรนด์ย่อยน้องใหม่ของค่ายลีวายส์ ชื่อ เดนิเซน dENiZEN มีสำนักงานบริหารจัดการแบรนด์นี้ในฮ่องกง และจะนำผลิตภัณฑ์ของแบรนด์น้องใหม่นี้วางจำหน่ายใน 3 ตลาดพร้อมกัน คือ ตลาดในจีน เกาหลีใต้ และสิงคโปร์
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 สิงหาคม 2553)
ดีทแฮล์มปลื้มเลโก้โตสวนศก. เทรนด์ของเล่นเพื่อศึกษาเฟื่อง
ดีทแฮล์ม มั่นใจ เลโก้เติบโตต่อเนื่อง เหตุแนวโน้มตลาดของเด็กเล่นเพื่อการศึกษามีอนาคตไกล เติบโตดี คาดสัดส่วนตลาดปีนี้จะอยู่ที่ 45% เพิ่มขึ้น 15% จากปีที่แล้ว เดินหน้าจัดกิจกรรมแข่งต่อเลโก้ชิงแชมป์ประเทศไทย
(ASTVผู้จัดการรายวัน 28 กันยายน 2552)
ดีทแฮล์มทุ่ม300ล.ผุดดีซี ยกไทยฮับเซาท์อีสท์เอเซีย
กลุ่มดีเคเอสเอช มั่นใจศักยภาพประเทศไทย เดินหน้าการลงทุนต่อเนื่อง เตรียมเทอีก 300 ล้านบาท ผุดศูนย์กระจายสินค้าภาคเหลือและภาคใต้ ครึ่งปีแรกยังพอใจในรายได้ ทั้งปีมั่นใจเติบโตขึ้นอย่างน้อย 8%
(ASTVผู้จัดการรายวัน 22 มิถุนายน 2552)
ดีทแฮล์มปรับกลยุทธ์รุกแบรนด์เอเว้นท์
ดีทแฮล์มเผยแผนปลุกปั้นแบรนด์เอเว้นท์ปีหน้า รับมือตลาดสินค้าเด็กแข่งดุ ปรับกลยุทธ์ลุยตลาดขยายสู่กลุ่มระดับกลางมากขึ้น เน้นทำตลาดรูปแบบแพ็ค ขายถูกกว่า มั่นใจดันยอดขายรวมโต 30%
(ผู้จัดการรายวัน 14 พฤศจิกายน 2549)
"ดีทแฮล์ม"ซุ่มแผนเด็ดปั้นคลากส์ชูแฟรนไชส์ร้านบุกรองเท้าพรีเมี่ยม
ดีทแฮล์ม วางแผนลึก หวังปลุกปั้นแบรนด์ขึ้นทำเนียบรองเท้าในไทยใหม่ หลังเพิ่งเข้ามารับผิดชอบเมื่อปีที่แล้ว ชูแผนบุกธุรกิจรีเทลเล็งเปิดชอปในลักษณะขายสิทธิ์แฟรนไชส์ เผยประเดิมเปิดร้านคลากส์ไปแล้ว 3 แห่ง ปรับภาพลักษณ์ใหม่สู่รองเท้าทันสมัย ตอบสนองทุกกลุ่มเป้าหมาย มั่นใจปีนี้ยอดขายเพิ่ม 15% ครองแชร์กลุ่มรองเท้าพรีเมี่ยม 20%
(ผู้จัดการรายวัน 3 กรกฎาคม 2549)
ดีทแฮล์มขายทิปโก้กรีนที-โออิชิทิปโก้เคลียร์เหตุจับปลาสองมือ
ศึกชาเขียวเปลี่ยนมุม จับตาดีทแฮล์มขายชาเขียวสองแบรนด์ อยู่ในมือ ทั้งโออิชิและทิปโก้
ทั้งที่เป็นคู่แข่งกัน วงในคาดทิปโก้กรีนทีต้องเร่งเคลียร์ กับดีทแฮล์มแน่ โออิชิออกรสชาติใหม่
พร้อมลุยแบบกล่องยูเอชที เผยอีก 4 ปีตลาดชาเขียวพุ่งถึง 27,000 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 11 พฤศจิกายน 2546)
ดีทแฮล์มรื้อโครงสร้างบริษัทแม่คุมตรงเพิ่มยอดขาย
ดีทแฮล์ม ยักษ์ใหญ่กลุ่มอุปโภคบริโภคจากแดนมะกัน ปรับโครงสร้างครั้งใหญ่ บริษัทแม่ยื่นมือคุมบริษัทลูกแต่ละประเทศโดยตรงยุบรูปแบบเดิม ที่ให้แต่ละประเทศบริหารงานอิสระ (Country Base) ปรับสู่ระบบรูปแบบธุรกิจ (Business Unit) แทน
(ผู้จัดการรายวัน 29 กันยายน 2546)
สหกรุ๊ปรื้อระบบขายจัดทัพลุยตลาดบะหมี่
สหกรุ๊ปปรับระบบจัดจำหน่ายกลุ่มสินค้าบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป หลังพบจุดอ่อน บริษัทในเครือถือ
สินค้าหลายแบรนด์ จนทำให้ทุ่มตลาดได้ไม่เต็มที่ ส่งผลให้ยอดขายและส่วนแบ่งตลาดหลายยี่ห้อที่กำอยู่มีปัญหายอดขายน้อย
ขณะที่หลาย แบรนด์ที่ร่วมทุนต้องการให้เพิ่มยอดจำหน่ายมากกว่านี้
(ผู้จัดการรายวัน 23 กันยายน 2546)
ชี้ศก.ไทยยังไม่ฟืนตัว ธุรกิจคอนซูเมอร์ซบต่อ
"ดีทแฮล์ม"ยักษ์ใหญ่คอนซูเมอร์ชี้กำลังซื้อสินค้าอุปโภค บริโภคครึ่งปีแรกฝืด
กำลังซื้อชนชั้นกลาง-ล่างซบเซาต่อเนื่อง ผลเสียผู้ประกอบการใช้กลยุทธ์โปรโมชั่น
ลดงบโฆษณาสร้างแบรนด์
(ผู้จัดการรายวัน 26 กรกฎาคม 2545)