สูตรปั้นคน SCG “เก่งงานไม่พอต้องเก่งคน”
ด้วยเงื่อนเวลาที่เอสซีจีต้อเร่งสปีดลง Go Regional ให้ได้ภายใน 5 ปี จะหาคนมาฝึกแบบค่อยเป็นค่อยคงไม่ทันเวลา จึงต้องฝึกฝนผู้บริหารที่มีอยู่ให้เป็นกำลังหลักในการโกอินเตอร์ ซึ่งคนเหล่านี้ต้องถูกฝึกเพื่อสร้างทักษะให้สามารถปรับตัว ดูแลกิจการในภาพใหญ่และกว้างขึ้น ที่สำคัญต้องเก่งเรื่องคน เพื่อให้ลูกน้องทำงานด้วยความสุข
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
ถึงเวลารวมเป็นหนึ่ง
ท่ามกลางสื่อมวลชนทั้งสายอสังหาริมทรัพย์ เศรษฐกิจ และการตลาดกว่า 40 รายมารวมตัวกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่งที่ SCG Experience ศูนย์ให้คำปรึกษาด้านการออกแบบย่านถนนเลียบทางด่วนรามอินทรา แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในการรวมแบรนด์วัสดุก่อสร้างทั้ง 15 แบรนด์ของ SCG มาเป็นหนึ่งดียวภายใต้สัญลักษณ์ “ตราช้าง”
(Positioning Magazine เมษายน 2553)
ปูนก็เป็น Lifestyle Product ได้
แม้จะอยู่ในตลาดมานานเกือบ 20 ปี แต่ปูนสำเร็จรูป ภายใต้ชื่อ “เสือคู่” จาก SCG กลับดูเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไร้นวัตกรรมและดูเชย จึงเป็นความพยายามครั้งใหม่ของ SCG ที่ต้องรีแบรนด์เป็น “เสือมอร์ตาร์” ให้กลับมาแจ้งเกิดใหม่อีกครั้ง
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2552)
SCG ปั้นคนให้ โกอินเตอร์
ปลายเดือนมิถุนายน มนู สรรค์คุณากร ผู้อำนวยการสำนักงานการบุคคลกลาง เครือซิเมนต์ไทย ( SCG) มีภารกิจต้องบินไปรับนักเรียนทุนที่เพิ่งจบจาก LSE (The London School of Economics) ขณะเดียวกันก็นำนักเรียนทุนคนใหม่ไปส่ง
(Positioning Magazine สิงหาคม 2550)
ช้างใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
ประการหนึ่งเป็นเพราะนโยบายของ SCG ที่ต้องการ “Go Regional” และได้รับการยอมรับจากคนทั่วโลกอีกทั้งสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลของบริษัทแม่ ที่มุ่งสร้างภาพลักษณ์การเป็นผู้รับผิดชอบต่อสังคม
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2550)
Drawing The Future : Idea on Paper ปูนซิเมนต์ไทยก็ขายกระดาษ
จากการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของเครือซิเมนต์ไทยเมื่อปีที่ผ่านมา ทำให้เราได้เห็น Drawing The Future แคมเปญสื่อสารภาพลักษณ์องค์กรใหม่ที่ดูสดใส ทันสมัยและไฉไลกว่าเดิม เริ่มตั้งแต่ภาพยนตร์โฆษณาชุด Tree of Imagination เสมือนเป็นการประกาศให้สังคมรับรู้โดยทั่วกันว่าเครือซิเมนต์ไทยพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อภาพลักษณ์แห่งความเป็น innovative
(Positioning Magazine กันยายน 2548)