คู่มือขายไข่ไก่เป็นกิโลฯ
หนึ่งในนโยบาย 9 ข้อตามแนวทางประชาวิวัฒน์ คือการขายไข่ไก่เป็นกิโลกรัม ที่ได่รับการกล่าวถึง พูดถึง และถกเถียงกันมากที่สุด และเป็นนโยบายร้อนแห่งปีทีเดียว เพราะเป็นการแก้ปัญหาอีกแนวทางหนึ่งที่ต่างไปจากเดิม
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ประชาวิวัฒน์ การเมืองแบบ Consumer Insight
การมองกลยุทธ์การบริหารจัดการของรัฐ โดยเฉพาะนโยบายประชาวิวัฒน์ สามารถมองได้ในหลายแง่มุม ตามการตีความของแต่ละคน แต่เนื้อหาโดยหลักของประชาวิวัฒน์ รากฐานที่แท้จริงก็คือหลักการตลาดที่ใช้ในการบริหารบริษัทเอกชนทั่วๆไป
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ไม่เอา...ชั่งไข่
ผลสำรวจสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ ความรู้สึกของประชาชนต่อราคาไข่ของนายกรัฐมนตรี จากกลุ่มเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้งสิ้น 1,103 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 22-23 ม.ค.ที่ผ่านมา
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ชั่งไข่ แคมเปญล้มเหลว
สินค้าการเมืองภายใต้มาตรการประชาวิวัฒน์อีกชิ้น ที่หวังผลทางการเมืองเฉพาะหน้า คือ มาตรการ “ชั่งไข่” ที่ทำท่าจะไปไม่รอด โดยเริ่มจาก “ไข่ไก่” ที่ให้มีการทดลองให้มีการเลือกซื้อขายกันเป็นกิโล ซึ่งรัฐบาลบอกว่าจะเป็นการประหยัดต้นทุนการคัดแยก ได้ประมาณ 5-10 สตางค์
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2554)
ได้เวลาบุกตลาดเมือง
สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น และสิบตาเห็นไม่เท่ามือคลำ ทั้งกลยุทธ์ “ปากว่า” ที่ให้พนักงานมายืนอธิบายตามจุดต่างๆ “ตาเห็น” ที่ปักป้ายแสดงรายละเอียดบริเวณแปลงผักและดอกไม้แต่ละชนิด และ “มือคลำ” ที่มีแปลงผักให้ทดลองตัดได้จริง ล้วนถูกนำมาใช้ในงานเจียไต๋แฟร์เพื่อสร้างประสบการณ์ให้ผู้บริโภค
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2552)
โชค บูลกุล โคบาลพ่อลูกอ่อน
...เป็นปีที่สองที่โคบาลหนุ่มนักบริหาร “โชค บูลกุล” ได้รับเลือกจากผู้อ่านนิตยสาร POSITIONING ให้เป็นสุดยอดผู้บริหารรุ่นใหม่ ด้วยคะแนนโหวตท่วมท้น แซงขึ้นมาเป็นอันดับ 1 อีกครั้ง
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2548)
ลำไยฟีเวอร์
ท่วงท่า เหินหาวของโทนี่ จา หรือ “จา พนม ยีรัมย์” เพื่อโปรโมตโฆษณาขายลำไย ที่ประเทศจีน บ่งบอกว่า งานนี้รัฐบาลไทยเอาจริงเอาจังกับแผนการขยายตลาดขายลำไย แบบเปรี้ยง ปร้าง ชนิดที่ไม่เคยทำมาก่อน
(Positioning Magazine สิงหาคม 2548)
ต้องมีโชค : โชค บูลกุล
ปี 2547 ก็เป็นอีกหนึ่งปีที่บริษัทในกลุ่มของเรา (กลุ่มบริษัทฟาร์มโชคชัย) ยังมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้จะมีเสียงกระแสเกี่ยวกับ FTA ซึ่งได้กระทบทางจิตวิทยากับผู้ประกอบการโดยเฉพาะในแวดวงอุตสาหกรรมนม แต่การที่ทางเราได้ anticipate หรือเตรียมปรับกลยุทธ์
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2548)
โชค บูลกุล Marketeer Generation
“ฟาร์มโชคชัยในอดีตเป็นแค่เกษตรกรรายหนึ่ง เพียงแต่เป็นรายใหญ่เท่านั้น ซึ่งก็เป็นเหตุผลว่าทำไมถึงเคยมีปัญหา มีหนี้สิน แล้วก็ไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นมันต้องมีอะไรที่แตกต่างที่ทำให้ฟาร์มโชคชัยยังอยู่ได้ และเป็นที่พูดถึงเป็นที่ต้องการ สิ่งนี้ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะสร้างดีมานด์ ไม่ว่าจะเป็นท่องเที่ยว อาหารสัตว์ นม หรือพันธุ์โค ซึ่งเกิดขึ้นได้จากกลยุทธ์ที่เราทำ วันนี้ฟาร์มโชคชัยจึงเป็นมากกว่าคำว่าเกษตรกร แต่เป็นนักการตลาด
(Positioning Magazine ธันวาคม 2547)