คนไทยยังไม่มั่นใจเศรษฐกิจ
จากผลสำรวจของมาสเตอร์การ์ด ดร.ยุวะ เฮ็ดริก หว่อง ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มาสเตอร์การ์ด เวิลด์วายด์ สรุปผลจากการทำเซอร์เวย์พบว่า ผู้บริโภคในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิกส่วนใหญ่ยังมีความมั่นใจต่อเศรษฐกิจภายในประเทศของตัวเอง แม้ว่าจะรับรู้ถึงปัญหาซับไพร์มในสหรัฐอเมริกา ปัญหาราคาน้ำมัน และอัตราเงินเฟ้อ โดย 10 ใน 13 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มีคะแนนความมั่นใจสูงขึ้น
(Positioning Magazine กุมภาพันธ์ 2551)
“ปีนี้เผาจริง”
ถามกันมาตั้งแต่ปี 2550 ว่า “ปีนี้เผาหลอก ปีหน้า (2551) เผาจริง” จนกลายเป็นประโยคยอดฮิต อันเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย กำลังซื้อหดหาย สินค้าขึ้นราคา ราคาน้ำมันพุ่งสูงขึ้นต่อเนื่อง
(Positioning Magazine มกราคม 2551)
เศรษฐกิจโลกโตลดลง
มีข้อมูลจากไอเอ็มเอฟ หรือกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) เปิดเผยว่าปี 2008 เศรษฐกิจของโลกจะชะลอตัวเพราะปัญหาตลาด “ซับไพร์ม”สหรัฐอเมริกา คาดว่าเศรษฐกิจจะเติบโต 4.8% ต่ำกว่าที่เคยคาดไว้เมื่อเดือนกรกฎาคมว่าโต 5.2%
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2550)
10 เหตุผลดี ๆ จากค่าบาทแข็ง
เมื่อเจอเรื่องแย่ๆ ถ้าเราปล่อยให้ความรู้สึกด้านลบมาครอบงำก็จะยิ่งแย่กันไปใหญ่ ในเมื่อเหรียญยังมี 2 ด้าน โลกก็มีขั้วบวกขั้วลบ การมองหาด้านดีๆ นอกจากจะส่งผลด้านจิตใจแล้ว ยังสามารถทำให้เกิดแรงขับเคลื่อนธุรกิจต่อไปได้อย่างมีความหวังอีกด้วย ฉะนั้นเจอมุมมองลบๆ จากสถานการณ์เงินบาทแข็งกันมามาก ลองมาศึกษาหามุมดีๆ จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกันดูบ้างดีกว่า
(Positioning Magazine กันยายน 2550)
พิษบาทแข็ง
เพราะเหตุใด ยาแก้พิษเงินบาทของแบงก์ชาติจึงใช้ไม่ได้ผล และดูเหมือนว่าอาการไข้ของพิษบาทแข็งกลับยิ่งทรุดหนัก ยิ่งมาเจอแรงปัญหา สินเชื่อบ้าน Subprime ของสหรัฐอเมริกา ที่ซัดกระหน่ำไปทั่วโลก ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่ประเทศไทยต้องมาค้นหาตัวเองเพื่อกำหนด Positioning ใหม่ในการหาที่ยืนบนโลกใบนี้
(Positioning Magazine กันยายน 2550)
ปรากฏการณ์ “บาทแข็ง”
ปอกเปลือกปัญหา “ค่าบาทแข็ง” อะไรคือปัจจัยที่ทำให้เงินบาทแข็งค่า ทำไมค่าเงินบาทสองตลาด ออฟชอร์ และออนชอร์ ได้กลายเป็นเครื่องมือทำกำไร เกิดเป็น“โพยก๊วนยุคดิจิตอล” เอทีเอ็ม และบัตรเครดิต กลายเป็นเครื่องมือของของการหากำไรค่าเงินบาท ทำไม ยารักษาค่าบาทแข็งของแบงก์ชาติยังไม่สัมฤทธิผล
(Positioning Magazine กันยายน 2550)
“SWOT ประเทศไทย”
ความเป็นประเทศไทย มีแรงดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ หรือมีอะไรบ้างที่เป็นอุปสรรคจากทั้งปัจจัยภายใน และภายนอกประเทศที่ทำให้ต่างชาติชะลอ หรือถอนการลงทุนไป “SWOT ประเทศไทย“ โดยธนาคารแห่งประเทศไทย มีดังนี้
(Positioning Magazine กันยายน 2550)
FIF : เอาเงินไทยไปลุยต่างประเทศ
“ช่วงนี้ที่กองทุนเอฟไอเอฟ (FIF : Foreign Investment Fund) ค่อนข้างบูม เติบโตเพิ่มขึ้นเท่าตัวจากปีที่แล้ว เพราะนอกจากภาครัฐส่งเสริม นักลงทุนมีความเข้าใจมากขึ้น เรื่องของค่าเงินที่แข็งขึ้นก็เป็นส่วนเติมเต็มในการตัดสินใจที่ทำให้นักลงทุนตัดสินใจได้ง่ายขึ้น”
(Positioning Magazine กันยายน 2550)
ยาหลายขนานคุมอาการบาทผันผวน
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือแบงก์ชาติ ดูแลบริหารค่าเงิน โดยกำหนดกรอบการดูแลค่าเงินที่เรียกกว่า “อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ” โดย ธปท.ไม่กำหนดระดับอัตราแลกเปลี่ยน ณ ค่าใดค่าหนึ่ง ปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาด โดยใช้นโยบายทางการเงินกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting)
(Positioning Magazine กันยายน 2550)