7 ปี พ็อกเกตบุ๊ก 15 เล่ม
โปรดักต์ภายใต้แบรนด์ ”วิกรม กรมดิษฐ์” ที่ออกมาอย่างต่อเนื่อง คือ พ็อกเกตบุ๊ก ที่ภายใน 7 ปี ขึ้นชั้นหนังสือมาแล้ว 13 เล่ม และภายในปี 2553 เตรียมวางตลาดอีก 2 เล่ม รวม 15 เล่ม ซึ่งไม่ว่าจะเป็นเล่มที่ทั้งเขียนใหม่ หรือรีเมก ต่างมียอดพิมพ์และยอดขายถล่มทลาย
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
A Team Behind the Scene
การทำให้แบรนด์ของ ”วิกรม กรมดิษฐ์” มีเรื่องราวอยู่ตลอดเวลา ซึ่งนอกจาก ”วิกรม” จะเดินเรื่องทั้งหมดด้วยตัวเองแล้ว ทีมงานยังมีส่วนสำคัญ ซึ่งแบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจน ตั้งแต่ผู้จัดการมูลนิธิ ไปจนถึงการคัดเลือก และนำเสนอรายการที่ควรไปออกอากาศ หรือแม้กระทั่ง SMS แจ้งเครือข่ายแฟนคลับให้เตรียมชม ”ไฟอมตะ” ก่อนออนแอร์
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
ถอดรหัสกระบวนสร้างแบรนด์ “วิกรม กรมดิษฐ์”
นี่คือ Best Practice ของการสร้างแบรนด์บุคคลที่ต้องอาศัยการกำหนด Image Maker อย่างดี ซึ่งแม้ ”วิกรม” ยืนยันหนักแน่นว่าไม่ได้อยากดัง แต่เขาก็แสดงให้เห็นแล้วว่าการจะเป็นคนดัง มีชื่อเสียงนั้น ต้องทำอย่างไรบ้าง และสุดท้ายเขาก็ไม่อาจปฏิเสธ ”ความดัง” เพราะคือจุดพลิกให้เรื่องราวที่เขาคิดว่าเป็นประโยชน์ต่อสังคมขยายวงได้มากยิ่งขึ้น
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
จากโอชินโมเดลสู่ไฟอมตะ
เนื้อหาของละครอิงชีวประวัติของวิกรม ที่เปิดเผยแง่มุมของชีวิตที่มีด้านมืดและสว่าง ผ่านการต่อสู้ทุกรสชาติ กว่าที่จะประสบความสำเร็จเป็นนักธุรกิจแถวหน้าของเมืองไทย ทำให้ถูกคาดหวัง น่าจะเป็นละครที่สามารถส่งออก ไปประสบความสำเร็จเฉกเช่นเดียวกับละคร “สงครามชีวิตโอชิน” ของญี่ปุ่น
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
เรตติ้ง “วิกรม” กรี๊ดดังไม่แพ้ “ชาคริต”
ขณะที่ ”ไฟอมตะ” ออนแอร์ที่โมเดิร์นไนน์มาได้ครึ่งหนึ่ง และได้กระแสตอบรับดีพอสมควร ที่อย่างน้อยสามารถฝ่ากกระแสละครของช่อง 3 และช่อง 7 มาได้ ใน “งานเลี้ยงปิดกล้องละคร” ก็คึกคักไม่แพ้ตอนบวงสรวงเปิดกล้อง สามารถวัดได้จากจำนวนนักข่าวบันเทิงที่มีนับสิบรายไปร่วมงาน
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
CEO Branding ละครชีวีต “วิกรม กรมดิษฐ์”
จากกลุ่มที่อ่านหนังสือตั้งแต่ “ผมจะเป็นคนดี” เล่มแรก จนถึง “มองซีอีโอโลก” ทำให้ “วิกรม กรมดิษฐ์” ซีอีโอ ของอมตะ คอร์ปอเรชั่น เข้าไปอยู่ในใจของคนจำนวนมาก ล่าสุดเขากลายเป็นซีอีโอที่มีละครออนแอร์ชีวิตตัวเองผ่านฟรีทีวี จากที่ไม่เคยมีซีอีโอคนไหนได้ทำมาก่อน จึงสร้างกระแส และรักษาระดับความดังของแบรนด์บุคคลอย่าง “วิกรม” ให้ยังอยู่
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
วิกรม กรมดิษฐ์ CEO brand
หากเอ่ยชื่อ “ซีอีโอ” ในภาคธุรกิจแล้ว วิกรม กรมดิษฐ์ เจ้าของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร คงต้องมาเป็นอันดับต้นๆ วิกรม รู้จักนำการตลาด มาใช้ สร้างชื่อให้กับตัวเขาต่อเนื่อง ผ่านสื่อหลากรูปแบบ เขาเปิดตัวด้วย พ็อกเก็ตบุ้ค “ผมจะเป็นตี” และ “มองโลกแบบวิกรม”
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2552)
วิกรม กรมดิษฐ์ ใส่ชีวิต ปั้นหนังสือขายดี ยิ่งแปลกยิ่งดัง
ในบรรดาหนังสือที่ครองบัลลังก์ยอดนิยม วางแผงทั่วทุกสารทิศ ตั้งแต่ร้านหรูในห้างฯ ยันร้านสะดวกซื้อ 7-11 จะมีเล่มหนึ่งที่ปรากฏภาพใบหน้าชายเชื้อสายจีนคุ้นตาดี “วิกรม กรมดิษฐ์” ผู้สร้างนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครมูลค่ากว่า 5 พันล้านบาท ที่ได้นำเรื่องราวชีวิตตัวเอง ถ่ายทอดเป็นตัวหนังสือบรรจุในพ็อกเกตบุ๊กขายดี กลายเป็น “กูรู” ตอบปัญหาได้ทุกเรื่อง ล่าสุด "มองซีอีโอโลก ภาค 2" ออกมาแค่ 3 เดือน มียอดขายกว่าแสนเล่ม
(Positioning Magazine มิถุนายน 2551)
การเมืองฉุดเศรษฐกิจ
ในฐานะเจ้าของธุรกิจ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เจ้าของหนังสือ “ผมจะเป็นคนดี” “วิกรม กรมดิษฐ์” ชี้แนวโน้มเศรษฐกิจในปีหน้า ให้ระวังปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง จะส่งผลให้เศรษฐกิจให้ตกต่ำลง # รถยนต์ ไฮเทค และปิโตรเคมี และพืชผลการเกษตร เป็น 4 ธุรกิจดาวรุ่งของปีหมู # ส่วนอสังหาทรัพย์ ท่องเที่ยว และคอนซูเมอร์โปรดักส์ ดาวร่วงแห่งปี 2007
(Positioning Magazine มกราคม 2550)