SCB ท้าชิงผู้นำตลาดสินเชื่อเอสเอ็มอี เร่งเพิ่มฐานลูกค้าอัดแคมเปญแรงทั้งปี
การประกาศแผนเดินหน้ารุกตลาดเต็มสูบของไทยพาณิชย์อย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อขยับขึ้นเป็น 1 ใน 3 ของผู้นำตลาดสินเชื่อเอสเอ็มอีให้ได้ภายใน 3-5 ปี มีส่วนทำให้สมรภูมิการแข่งขันในตลาดปีนี้ร้อนแรงขึ้นไปอีก เร่งขยายกลุ่มธุรกิจสินเชื่อเอสเอ็มอีให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 มีนาคม 2554)
ทีเอ็มบีต่อยอดกลยุทธ์ค่าต๋ง “บุฟเฟต์” เพิ่มแพ็คเก็จเหมาจ่ายเจาะรายกลาง
จากยุทธศาสตร์ “การชูผลิตภัณฑ์เป็นตัวนำ” เพื่อมุ่งไปสู่การเพิ่มจำนวนฐานลูกค้า ยังคงเป็นลูกเล่นที่นักการตลาดแห่งทีเอ็มบีนำมาใช้ในการเปิดตัวผลิตภัณฑ์การเงินใหม่ๆ ของธนาคารอย่างต่อเนื่อง โดยแนวทางของทุกผลิตภัณฑ์ที่เปิดตัวออกมาตั้งอยู่บนโจทย์ที่ “แหวกกรอบ”
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 ตุลาคม 2553)
โฉมใหม่ SCB Platinum Banking การตลาดเจาะกระเป๋าเศรษฐีเงินเย็น
เพราะลูกค้ากลุ่มนี้เป็นกลุ่มกำลังซื้อสูง มีศักยภาพสามารถเป็นช่องทางสร้างโอกาสในการ Cross-Selling ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้ของธนาคาร และยังตอบโจทย์ลูกค้าในการสร้างผลตอบแทนที่เหนือกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากด้วย
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 ตุลาคม 2553)
เผย4 ตัวเต็งท้าชิงเอ็มดีใหม่ KBANKข้อสอบปรนัยครั้งใหม่ของ “บัณฑูร”
ความเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างก็เกิดขึ้นกับธนาคารกสิกรไทย หรือ KBANKอีกครั้ง เมื่อ “ประสาน ไตรรัตน์วรกุล” กรรมการผู้จัดการ มือขวาคู่ใจที่รุ่นพี่ร่วมสถาบันฮาร์วาร์ด “บัณฑูร ล่ำซำ” แห่งอาณาจักรKBANKให้ความไว้วางใจ และดึงตัวมาช่วยงานเมื่อ 6 ปีที่แล้ว ตัดสินใจลาออกหลังจากได้รับคัดเลือกให้ไปดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 กรกฎาคม 2553)
"แบงก์สินเอเซีย" งัดข้อตลาดมืดหลบสงครามรีเทลทุนต่างประเทศ
"ธนาคารสินเอเซีย" เป็นแบงก์เกิดใหม่ในจำนวนไม่กี่ราย ที่พลิกผันตัวเองจาก "ซูเปอร์ไฟแนนซ์" ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ อัพเกรดมาเป็นแบงก์เต็มรูปแบบในปีนี้ เพียงแต่เส้นทางเดินของ "สินเอเซีย" ที่กลายเป็น "ผู้มาที่หลัง" จำเป็นต้องจำกัดตัวเองเป็นแบงก์ขนาดกะทัดรัด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
ปฏิบัติการสิงโตทะเล-"คลังกามิกาเซ่" "ห้ามเลือด" แบงก์ทหารไทย
แบงก์สัญลักษณ์ "ท็อปบูท" กลายเป็นเพียงแบงก์เดียว ที่เลือดยังไหลนองพื้นไม่หยุด และการปฏิบัติการพลีชีพด้วยการเพิ่มทุนของกระทรวงการคลัง "ผู้ถือหุ้นใหญ่" ถึง 3 ครั้ง 3 ครา เพื่อเข้าโอบอุ้มตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ก็ยังไม่มีทีท่าจะไปตลอดรอดฝั่ง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
กรณีศึกษา"BAY-GE"โมเดลน้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
"ชาลอต โทณวณิก"ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการอาวุโส ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY) ต้องคอยตอบคำถาม สื่อต่างๆที่รุมล้อม ถามไถ่เกี่ยวกับอนาคต และทิศทางที่จะก้าวเดินต่อไป ภายหลังการเข้ามาถือหุ้นในแบงก์กรุงศรีฯ ของกลุ่ม"จีอี แคปปิตอล เอเชีย แปซิฟิค" หรือ "จีอี" ยักษ์ใหญ่ "คอมซูเมอร์ไฟแนนซ์"จากอเมริกา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)
สงครามจรยุทธ์"ล็อคอาณาจักรเงินฝาก"ปรับดอกเบี้ยกี่ครั้งแบงก์ก็ได้ทั้งขึ้นทั้งล่อง
วงการแบงก์ประกาศ "สงครามกองโจร" ซุ่มโจมตีคู่แข่งด้วยเงินฝากแบบพิเศษ ที่มีดอกเบี้ยเงินฝากไล่ขึ้นสูงจนเกินกว่าเจ้าของเงินออมจะอดใจไหว เลือกจังหวะที่รายได้ผลตอบแทนจากสินทรัพย์สภาพคล่อง ที่ลงทุนในตลาดเงินระยะสั้นในประเทศ และต่างประเทศ รวมถึงเงินลงทุนในหลักทรัพย์พุ่งปรู๊ด เพื่อล็อคอาณาจักรเงินฝากไม่ให้กระเด็นกระดอนข้ามค่าย ใช้ฐานลูกค้าที่มีในกำมือ ขยายพอร์ตธุรกิจในเครือ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยสรุป ช่วงดอกเบี้ยใกล้ถึงจุดพีค คือเวลาตักตวงผลกำไรในช่วงดอกเบี้ยวิ่งไม่หยุด จากนั้นไตรมาส 2 ก็จะกลับคืนสู่สภาพเดิม คือหันมาหารายได้จากดอกเบี้ยสินเชื่อ และเงินกู้ โดยสรุป ไม่ว่าดอกเบี้ยจะไต่ขึ้นหรือพุ่งไปถึงสุดสูงสุด แบงก์ก็ไม่มีอะไรจะเสีย แถมได้ทั้งขึ้นทั้งล่อง....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 เมษายน 2549)