ทุนใหม่ชะงัก-ทุนเก่าลังเลมรสุมลูกใหญ่กระทบอสังหาฯ
*มรสุมการเมืองกระทบอสังหาฯ ทุนใหม่ชะงักเข้าไทย ทุนเก่าหวั่นความเสี่ยง ลดวงเงินลงทุนโครงการ หันเจาะดีมานด์คนไทย
*เลื่อนจัดโรดโชว์ต่างประเทศ หลังนักลงทุนต่างชาติรายย่อยชะงักซื้อ เพราะไม่มั่นใจสถานการณ์
*ทุนเงินเย็นไม่หวั่นการเมืองวุ่น แห่ซื้ออสังหาฯ กระจายความเสี่ยงยุคเงินเฟ้อ กฎหมายคุ้มครองเงินฝากเปลี่ยน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 กันยายน 2551)
อสังหาฯโค้งสุดท้ายซึมยาว รายใหญ่ยึดตลาดทุกเซกเมนต์
-จับตาตลาดอสังหาฯช่วงโค้งสุดท้าย ราคาเหล็ก-น้ำมัน-เงินเฟ้อยังเป็นปัจจัยเสี่ยง
-แนวโน้มจัดสรรรายใหญ่ ทุนหนายังไปรอด เดินหน้าลงทุนต่อ กุมตลาดแย่งมาร์เก็ตแชร์รายย่อย
-ระวังผลพวงวิกฤตซับไพรม์ก่อมรสุมลูกใหม่กระทบตลาด หลังทุนนอกส่งสัญญาณจ่อขายหุ้นทิ้ง ดึงเงินกลับประเทศอุ้มบริษัทแม่
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 กันยายน 2551)
อนาคตรับสร้างบ้านสดใส น้ำมันลดผู้บริโภคเร่งตัดสินใจซื้อ
ส่องธุรกิจรับสร้างบ้านครึ่งปีหลัง ตลาดบนยังหอมหวน กำลังซื้อไม่ตก บิวด์ฟันธงเศรษฐกิจหดตัวรายเล็กตาย เปิดช่องรายใหญ่จ้องขยับแชร์ เมคเกอร์ส่ง‘The Solution’ ลงสนาม ฟากวินด์มิลล์ขยับตัวเปิดแนวรบตลาดใหม่ เจาะกลุ่มครอบครัวขยาย ขณะที่ดิ เอ็มเพอเร่อร์ เฮ้าส์ ยังคงคอนเซ็ปต์หรูหรา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 สิงหาคม 2551)
บีเอฟเอ็มปรับกลยุทธ์รับมือตลาดซบ เล็งจับมือดีลเลอร์เจาะฐานรายย่อย
บีเอฟเอ็มคาดการณ์ตลาดปีหน้าเสี่ยง ความเชื่อมั่นหดกระทบงานขายเข้าโครงการตึกสูงซบเซา ปรับตัวเร่งขยายตลาดรุกรายย่อย เจ้าของบ้านพักอาศัย บ้านจัดสรรไฮเอนด์ ผ่านดีลเลอร์ทั้งในและต่างจังหวัด เล็งขยายตลาดสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เชื่อมั่นปีนี้ยอดขายเป็นไปตามเป้าจากงานป้ายโฆษณา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 กรกฎาคม 2551)
อสังหาฯ ครึ่งปีหลังเหนื่อย มาตรการสิ้นมนต์ขลัง “เข็นไม่ขึ้น”
*ฟันธงตลาดอสังหาฯ ครึ่งปีหลังสะดุด ต้นทุนพุ่ง มาตรการภาษีเข็นยอดขายไม่ขึ้น หนุนกำไรฟื้นแค่ครึ่งปีแรก
*ต้นทุนพุ่งรายวัน จัดสรรหวั่นแบกรับความเสี่ยงไม่ไหว ไม่กล้าสต็อกบ้าน
*สมาคมบ้านจัดสรรแนะรัฐบาลยืดอายุมาตรการ-อัดดอกเบี้ยต่ำช่วยคนจน กระตุ้นกำลังซื้อ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 14 กรกฎาคม 2551)
เงินเฟ้อ ดอกเบี้ย ค่าก่อสร้าง ขยับเพิ่มฉุดยอดกำไร-แนวโน้มราคาหุ้นอสังหาฯอืด
ราคาน้ำมันพุ่ง ต้นทุนก่อสร้างเพิ่ม แนวโน้มดอกเบี้ยขึ้น ความเชื่อมั่นผู้บริโภคหด สารพัดปัจจัยรุมเร้าหุ้นอสังหา โบรกฯประเมินกำไรปีนี้ลดลง 4% และอีก 11% ในปีหน้า แต่ยังเชียร์ซื้อ 3 หุ้นใหญ่สวนแรงเทขายที่มีออกมา เนื่องจากยังมีแนวโน้มไปได้ดีแต่ราคาหุ้นรับข่าวร้ายมากไป
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 กรกฎาคม 2551)
ซิตี้คอนโดจัดทัพการตลาดใหม่รับมือยุค “ยิ่งขายเร็วยิ่งเจ็บตัว”
*คอนโดมิเนียมแห่ปรับสูตรการขาย-การตลาด ลดปัญหาคุมราคา“เหล็ก-น้ำมัน”ไม่ได้
*ใช้วิธีแบ่งล็อตขาย ล็อตใหม่ปรับราคาขายตามต้นทุนใหม่ หรือรอยอดขายเกินครึ่ง ค่อยเริ่มก่อสร้าง
*หมดยุคปิดขายหมดในวันเดียว เหตุยิ่งขายมาก ยิ่งเสี่ยงสูง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 มิถุนายน 2551)