นครหลวงไทยพับแผนขายแบงก์พลิกโฉมพนง.-สาขารุกสินเชื่อบ้าน-SMEs
"แบงก์นครหลวงไทย" ยอมรับต้อง พับเก็บโครงการขายหุ้นกองทุนฟื้นฟูฯผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ให้กับผู้สนใจ และไม่มีเวลาจะรอให้ใครมาซื้อหรือขาย เพราะแบงก์ยังต้องปรับตัวตลอดเวลา หลังผ่านช่วงเวลา 2 ปีของการเปลี่ยนแปลง ก็ถึงเวลาพลิกโฉมวัฒนธรรมคนแบงก์ และเนรมิตรสาขาใหม่ ก่อนจะรุกสินเชื่อบ้านและเอสเอ็มอี ในปีหน้าใกล้เคียงกับปีนี้ อย่างระมัดระวังเป็นพิเศษ...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 ธันวาคม 2551)
"SCIB Family"เปิดบ้านแบงก์ชฎาผูก5ธุรกิจลบภาพซูเปอร์มาร์เก็ตไฟแนนซ์
เวลาเพียง 2 เดือนสำหรับ ซีอีโอและเอ็มดีคนล่าสุดของ "ธนาคารนครหลวงไทย"... "ชัยวัฒน์ อุทัยวรรณ์"... ได้ถ่ายทอดคอนเซ็ปท์การตลาดที่ค่อนข้างชัดเจนเกี่ยวกับ "SCIB Family"บ้านหลังใหม่ ที่รวมเอา 5 ธุรกิจในเครือมาผูกเป็นเป้าหมายการสร้างโอกาสและรายได้ จากลูกเล่นการตลาดที่เจ้าของบ้านคนใหม่บอกว่า "จะเอาบันเทิง มาเป็นคอนเซ็ปท์การตลาด" ทำให้ภาพ "ซูเปอร์มาร์เก็ตไฟแนนซ์" ก่อนหน้านั้นกำลังจะเลือนหายไปจากความทรงจำ...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 มิถุนายน 2550)
แบงก์"ยอมงอ"ยืดหยุ่นสินเชื่อบุคคลอนุมัติเร็วกระชากมาร์จิ้นขยายฐานช่วงกำลังซื้อวูบ
"แบงก์"เปลี่ยนท่าที ยอมผ่อนปรน ยืดหยุ่นอนุมัติ "สินเชื่อบุคคล" ขยายพอร์ตในช่วงที่กำลังซื้อหล่นวูบ "เคแบงก์" เปิดรับกลุ่มที่เคยถูกปฏิเสธการขออนุมัติ ด้วยสินเชื่อที่เข้มงวดน้อยลง เพราะเห็นกำไรมหาศาลอยู่ตรงหน้า "นครหลวงไทย" พลิกลำเริ่มรุกไล่ตลาดรายย่อย ด้วยสินเชื่อที่อนุมัติไวยิ่งกว่าอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงภายใน 1 ชั่วโมง ขณะที่แบงก์ใหญ่หลายแห่งเลือกที่จะกระโดดลงสนามรบด้วยท่าทีที่ค่อนข้างระวัง.....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)
"นครหลวงไทย"เร่งสปีดบัตรเครดิตยึดโมเดล"ซิตี้แบงก์"แม่แบบเชิงรุก
สัญลักษณ์สีแดงเพลิงของ "แบงก์นครหลวงไทย" บอกเป็นนัยถึง โลกของการค้าขายที่ไม่จำกัดชนชั้น แต่หากย้อนหลังไปช่วง 4-5 ปี กลับพบว่า การขยายธุรกิจไม่ได้เข้มข้นมากพอจะทะลุทะลวงเข้าถึงทุกหลังคาเรือนของลูกค้ารายย่อย ตลาดที่แบงก์ต่างๆจดๆจ้องๆจะไขว่คว้ามาไว้ในอาณัติของตัวเอง แต่หลังจากนี้การตลาดเชิงรุกของแบงก์นครหลวงไทยกำลังจะเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ โดยวัดจากอัตราการเร่งสปีดธุรกิจ "บัตรเครดิต" ตลาดที่เชื่อว่าจะทำให้แบงก์สามารถยืดหยุ่นกับภาวะเศรษฐกิจได้ทุกสถานการณ์ ซึ่งสำหรับ "นครหลวงไทย" "ซิตี้แบงก์" เจ้าตลาด "รีเทล แบงกิ้ง" ก็คือแม่แบบที่จะอธิบายทฤษฎีนี้ได้เป็นอย่างดี....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 พฤษภาคม 2549)
แบงก์แย่งปล่อยสินเชื่อบ้าน
สถาบันการเงิน ทั้งแบงก์ และนอนแบงก์ ปรับยุทธศาสตร์ครั้งใหญ่ เบนเข็มปล่อยสินเชื่อบ้าน เหตุเสี่ยงต่ำ ตลาดใหญ่มูลค่าแสนล้าน และโดดแรงบีบจากธปท.เรื่องกำหนดเพดานดอกเบี้ย ธอส.ผู้นำตลาดปล่อยไม้เด็ดเป็นระลอก หวังขยายฐานลูกค้าใหม่ และตีกันลูกค่าเก่าเปลี่ยนใจรีไฟแนนซ์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 พฤษภาคม 2548)