Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ93  
Positioning111  
ผู้จัดการรายวัน121  
ผู้จัดการรายสัปดาห์41  
PR News717  
Web Sites2  
Total 1044  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น, บมจ.


ผู้จัดการรายสัปดาห์ (31 - 40 of 41 items)
ศึกโปรโมชั่นมือถือ "พักรบ"3 ค่าย "คัมแบ็ก" จุดขายเดิม *ศึกโปรโมชั่นมือถือลดคันเร่ง "เอไอเอส" ส่งสัญญาณแตะเบรกโปรโมชั่น 3-1-1-0 ลง หลังต้องเติมเม็ดเงิน 9,240 ล้านแก้ปัญหาคุณภาพเครือข่าย * เอไอเอสสงวนท่าที ลุยโปรโมชั่น "ราคา" ต่อหรือไม่ ต้องจับตามองหลังเดือนกรกฎาคมศกนี้หลังเครือข่ายเสร็จ * ส่วนดีแทคลดความเร่งโปรโมชั่นเช่นกัน หันหาโปรโมชั่นสไตล์เฉพาะตัว "พอดี" * ทรู มูฟยังความคุ้มค่าต่อ ผสานจุดขาย "คอนเวอร์เจนซ์" ดึงลูกค้า(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มิถุนายน 2549)
ผู้ค้าเปิดช่องสื่อสาร "ไฮเทค" เกาะติด "ฟุตบอลโลก" เต็มสูบ ผู้ค้าไอทีตอบรับกระแส "ฟุตบอลโลก" จัดช่องทางบริการ "คอนเทนต์"ทุกรูปแบบ เอไอเอสเปิดปรับรูปแบบ โมบายไลฟ์ พลาซ่า เปิดบริการ "สายด่วนบอลโลก" ดึง 4 นักพากย์วิเคราะห์แบบเจาะลึกผ่านมือถือ ด้านนดีแทคขอเอี่ยวเปิดบริการ คอนเทนต์บอลโลก ขณะที่ไมโครซอฟท์เปิดตัวโปรแกรม "ไมโครซอฟท์ ฟุตบอล สกอตบอร์ด" เปิดช่องแฟนพีซีตามผลบอลโลก(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มิถุนายน 2549)
ดีแทค พลิกสถานการณ์ผู้เล่นเบอร์สองที่มีชั้นเชิง *สถานการณ์ดีแทค ไตรมาสแรกดีเกินคาด ยอดลูกค้าใหม่เพิ่ม 1.15 ล้าน แซงหน้าคู่แข่ง “เอไอเอส” ที่โต 2.25 แสน “ทรูมูฟ” แตะ 4.41 แสน *พลิกสถานการณ์เบอร์ 2 ห่างชั้น สู่เบอร์ 2 สูสีเป็นครั้งแรก ภายหลังเปลี่ยนแบรนด์ “ดีแทค” ตั้งแต่ปี “45 หลังฐานลูกค้าทะลุ 10 ล้าน *เดินกลยุทธ์ปี 49 “ราคา” + “นวัตกรรม” โดยพลิกแพลงตามสถานการณ์เข้าสู้ท่ามกลางความ “ฮึกเหิม” “ความรับผิดชอบ” และ “ความคาดหวัง”(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 พฤษภาคม 2549)
สิทธิประโยชน์ออนโมบายการตลาดบนความต้องการ *หมัดนำ สงคราม "ราคา" มือถือถึงจุดอิ่มตัว โอเปอเรเตอร์เตรียมหยิบหมัดสอง "สิทธิประโยชน์" เข้ามัดใจลูกค้าระยะยาว *ค่ายเอไอเอสมีโปรแกรม "เอไอเอส พลัส" ค่ายทรู มี "ทรู พริวิเลจ" อิงกลยุทธ์ "ซีเอ็มอาร์" ตอบสนองความต้องการลูกค้า *ค่ายดีแทคติดแตกต่าง แบ่งกลุ่มสิทธิประโยชน์ผู้ใช้ อัดงบ 50 ล้านบาททำตลาดในเซกเมนต์แมกซิไมซ์ช่วง 3 เดือนแรก .ให้ช็อปสะใจกับ "5% On-Top" นาน 1 ปี *เชื่อโมเดลทำตลาดเชิงคุณภาพ "บริการ" จะเป็นแกนหลักท่ามกลางสงคราม "ราคา" ตลาดที่อิ่มตัว(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 พฤษภาคม 2549)
สงครามราคามือถือรอบใหม่เอไอเอสขอสู้ตายสายฟ้าแลบ สงครามมือถือรอบนี้ ดูเหมือนจะดุเดือดกว่าทุกครั้งที่เคยผ่านมา เมื่อเบอร์หนึ่งในตลาดอย่างเอไอเอส ได้รับผลกระทบโดยตรง ทั้งจากการแข่งขันในตลาด และจากปัจจัยอื่น ๆ (โดยเฉพาะการเมือง) จนไม่ยอมใช้กลยุทธ์ "ยืนอยู่บนภู ดูเสือกัดกัน"(ผู้จัดการรายวัน 24 เมษายน 2549)
รีโพรซิชั่นนิ่ง "แม็กซิไมซ์" ก้าวสำคัญโพสต์เพด "ดีแทค" ตลาดโพสต์เพดร้อน ดีแทครีโพรซิชั่นนิ่ง "แม็กซิไมซ์" ใหม่ ตั้งแต่ เปลี่ยนระบบคิดค่าบริการเป็นครั้ง เพิ่มประสิทธิภาพสิทธิประโยชน์เต็มรูป ตามรอยวิชั่นกลยุทธ์เซกเมนเทชั่นเต็มรูป ประกาศเป็นผู้นำตลาดภายใน 3 ปีกินส่วนแบ่งตลาดเกิน 50% มั่นใจปีนี้กวาดผู้ใช้เข้าระบบแตะเลข 3 ล้านราย(ผู้จัดการรายวัน 3 เมษายน 2549)
สงครามราคามือถือ Never Ending War สงครามราคามือถือเริ่มระอุขึ้นอีกระลอกแล้ว หมอกควันของการเปลี่ยนแปลงเจ้าของ AIS ยังไม่จาง ...และในจังหวะเดียวกับที่ Orange เปลี่ยนเป็น True Move ...ค่ายมือถือต่าง ๆ ก็งัดเอาโปรโมชั่นใหม่ ๆ มาประชันกัน ศูนย์กลางของความสนใจน่าจะจับอยู่ที่ DTAC เพราะกลยุทธ์การตอบโต้คู่แข่งทั้งสองที่ขนาบอยู่บน - ล่าง นั้น ... โดนใจซะเหลือเกิน เรียกว่าคู่แข่งเสนออะไรมา ดีแทคเกทับอย่างฉับพลัน(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 กุมภาพันธ์ 2549)
บุญชัยทิ้งยูคอม จังหวะดีที่สุด 19 ตุลาคม 2548 เป็นวันที่สำคัญยิ่งอีกหนึ่งวันสำหรับอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย เป็นวันที่ตระกูล “เบญจรงคกุล” ผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัทยูคอม (ซึ่งยูคอมคือผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท TAC ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับสอง เจ้าของแบรนด์ DTAC) ขายหุ้นในมือทั้งหมดออกไปให้แก่บมจ.ไทย เทลโค โฮลดิ้งส์ ในมูลค่าทั้งสิ้น 9,200 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วน 39.9%)(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 พฤศจิกายน 2548)
"เบญจรงคกุล" ถอยเพื่อรุก ปิดฉากตำนานยุคแรกของตระกูลเบญจรงคกุลในธุรกิจโทรคมนาคมของประเทศไทย ด้วยการถอดหุ้นและสายบริหารออกทั้งหมด แต่ทว่าบทบาทใหม่ของตระกูลกลับเริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหลังจากนี้ไป ซึ่งถูกมองว่า เป็นบทบาทที่ "พี่ใหญ่" บุญชัย เบญจรงคกุลตั้งปฎิภาณที่ลงแรงไปแล้วเมื่อ 8 ปีก่อน(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 ตุลาคม 2548)
ตัวตนของ "บุญชัย เบญจรงคกุล" ถึงเวลานี้หลายคนอาจจะยังไม่รู้จักตัวตนที่แท้จริงของผู้ชายชื่อ "บุญชัย เบญจรงคกุล" ผู้ที่ทำให้วงการโทรศัพท์มือถือต้องช็อกไปตามๆ กัน จากการขายหุ้นที่ตระกูลเบญจรงคกุลถือหุ้นอยู่ทั้งหมดในบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น จำกัด(มหาชน) หรือยูคอม ให้กับบริษัท ไทย เทลโค โฮลดิ้งส์ จำกัด ซึ่งถือหุ้นใหญ่ โดย "เทเลนอร์(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 ตุลาคม 2548)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us