จุลกร สิงห์โกวินท์ มืออาชีพตัวจริง
มืออาชีพตัวจริง ายหนุ่มผู้วางตัวเหมือนนายธนาคารยุโรปอย่างจุลกร สิงหโกวินท์
กรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารเอเชีย (BOA) กำลังได้รับการกล่าวขวัญอย่างสูงคนหนึ่งในฐานะผู้บริหารธนาคารมืออาชีพ
ที่ผ่านมาหลายยุคหลายสมัย
คล้ายๆ ชีวิตของแม่พลอย นิยายเรื่อง สี่แผ่นดินของม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
เก่งอย่างเดียวไม่พอ ต้องมีความเฮงด้วยเขาพูดทีเล่นทีจริง ในการอธิบายความเป็นมาของเขาเอง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
ปิดตำนานเอื้อชูเกียรติ - ภัทรประสิทธิ์ แห่งแบงก์เอเชีย 2541
หลังจาก ยศ เอื้อชูเกียรติ ตัดใจสละบัลลังก์การบริหารงานของแบงก์เอเชียที่จรูญ
เอื้อชูเกียรติ บิดาของเขายกให้เมื่อปี 2524 ให้แก่จุลกร สิงหโกวินท์ มือปืนรับจ้างศิษย์เก่าแบงก์กรุงเทพ
เมื่อ 2 ต.ค. 2535 เพื่อผลักให้แบงก์เอเชียก้าวออกจากระบบธุรกิจครอบครัวสู่การบริหารงานแบบมืออาชีพ
เท่ากับยศเป็นคนสุดท้ายของตระกูลเอื้อชูเกียรติที่ได้กุมบังเหียนแบงก์เอเชีย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2541)
"TAX HAVENS"
การไหลเวียนของกระแสเงินในโลกธุรกิจ ปัจจุบันมีขอบเขตขยายออกไปอย่างกว้างขวางตามการพัฒนาของระบบการค้า
การลงทุนระหว่างประเทศ จากแหล่งเงินทุน ณ มุมโลกหนึ่งไปยังจุดอื่นๆ ของโลกเงินตราเดินทางไปอย่างสะดวกรวดเร็วแทบจะในพริบตาเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
53 ปี ธนาคารเอเชีย Never Ending Story ของเอื้อชูเกียรติ
ตระกูลเอื้อชูเกียรติยกงานบริหารธนาคารยุคใหม่ให้กับจุลกร สิงหโกวินท์ วันนี้ธนาคารเอเชีย
(มหาชน) แตกต่างกว่าเมื่อ 5 ปีก่อนโดยสิ้นเชิง ทั้งในแง่ของกำไร วัตถุประสงค์
และยุทธวิธีที่มีความซับซ้อนแนบเนียนมากขึ้น ขยายกิจการสาขาออกไปอย่างกว้างขวาง
และกระจายอำนาจการบริหารมากขึ้นกว่าที่ "เอื้อชูเกียรติ" เคยทำมา!!
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2536)
นอร์ธปาร์คกับแบงก์เอเชีย กรณีอัฐยายซื้อขนมยาย
จะมีโครสักกี่คนทราบว่า ครั้งหนึ่งที่ดินผืนงามนับร้อยๆ ไร่ ของ "โครงการนอร์ธปาร์ค"
เคยมีจุดเริ่มต้นจากการเป็นที่ดินของ "ชินเขต" มาก่อน แต่หลังจากประสบปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงปี
2525-2528 จนไม่สามารถผ่อนชำระหนี้สินจำนวนมากได้ จึงถูกทางธนาคารเอเชียยึดหลักทรัพย์ค้ำประกันผืนงามนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2536)
ตระกูลภัทรประสิทธิ์ในธนาคารเอเชียกับเข้ามาของเจริญ สิริวัฒนภักดี
เป็นที่น่าสังเกตว่า รากฐานของผู้ถือหุ้นใหญ่ในธนาคารเอเชียนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ล้วนแล้วแต่เป็นคนในวงการธุรกิจการค้าสุรา ซึ่งเป็นนักธุรกิจการเมืองที่ต้องติดเขี้ยวเล็บรอบตัว
สำหรับการบริหารธุรกิจที่มีผลประโยชน์ก้อนมหาศาลให้อยู่รอด และมั่นคงในทุกสมัยผู้นำทางการเมืองแบบยุคเก่าที่เอาขวดเหล้าผูกไว้กับกระบอกปืน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2536)
เมื่อสหภาพแบงก์เอเชีย ไม่ใช่หุ่นยนต์
ไม่น่าเชื่อว่า แบงก์ที่ได้รับคำชมจากทางการเมื่อต้นปี 2537 ว่ามีการบริหารเป็นเยี่ยม
เพราะสามารถคืนซอฟท์โลนจำนวน 1,500 ล้านบาทแก่แบงก์ชาติตามกำหนด หรือการเป็นแบงก์ขนาดเล็กแห่งหนึ่งที่ได้รับอนุญาตประกอบธุรกิจในศูนย์วิเทศธนกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2536)
ตระกูลเอื้อชูเกียรติ
จรูญ เอื้อชูเกียรติ เดิมชื่ออื้อจักล้ง เกิดปี 2452 ที่กวางตุ้ง ประเทศจีน พ่อของเขาชื่อ อื้อก้ำเท้ง หรือกำธร เข้ามาเมืองไทยก่อน เป็นผู้จัดการบริษัทประมงไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
ภัทรประสิทธิ์ยกธงขาว
การลาออกจากกรรมการของยศ เอื้อชูเกียรติ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2540 ถือว่า ธนาคารเอเชีย ยุคที่ตระกูลภัทรประสิทธิ์ ถือหุ้นข้างมากเด็ดขาดได้เริ่มต้นขึ้น โดยมีความหมายว่าภัทรประสิทธิ์คือ ตระกูล ธุรกิจภูธร รายล่าสุด ที่เข้ามาโลดโผนวงใน ธุรกิจการเงินระดับชาติอย่างแท้จริง โดยไม่คาดคิดความยิ่งใหญ่นั้น ผันเปลี่ยนไปในช่วงเวลาเพียงไม่ถึง 1 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)