18 เดือนแห่งการเปลี่ยนแปลงเครือซิเมนต์ไทย
2 กรกฎาคม 2540 รัฐบาลไทยประกาศปรับระบบแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเป็นระบบลอยตัว
10 กรกฎาคม 2540 เครือซิเมนต์ไทยชี้แจงผลกระทบ เป็นกิจการแรกๆ ที่ให้ข้อมูลอย่างตรงไปตรงมาว่า
หนี้สินได้เพิ่มขึ้นถึง 2 แสนล้านบาท
30 กรกฎาคม 2540 ศิววงศ์ จังคศิริ อดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มาเป็นกรรมการแทน
จรัส ชูโต ซึ่งขอลาออก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
สบสันติ์ เกตุสุวรรณ ปูนซิเมนต์ MATURE PRODUCT CLASSIC CASE STUDY
เขาเป็นคนเรียบง่าย ค่อนข้างสมถะ ตามแบบฉบับของคนเครือซิเมนต์ไทยที่สำคัญเป็นลูกหม้อ
เริ่มทำงานครั้งแรกที่นี่ด้วยปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) จุฬาฯ จากนั้นก็เป็นนักเรียนทุน MBA รุ่นแรกของบริษัท (เขาเรียนจบทั้ง M.Eng และ MBA จาก University
of Southern California) ปัจจุบันอายุ 53 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
ธุรกิจปิโตรเคมี YOUNG CULTURE
"เราสร้าง Culture ใหม่ คุณเดินมาตึกปิโตรเคมีจะไม่เหมือนสำนักงานใหญ่ คนละ Culture เด็กที่นี่ทำงานลุยกัน เพราะเราเป็น Young Culture เด็กที่นี่อายุเฉลี่ย 25-26 ปี" อภิพร ภาษวัธน์ ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัทเคมีภํณฑ์ซิเมนต์ไทย เปิดฉากอรรถาธิบายกับ "ผู้จัดการ" ถึงบุคลิกของธุรกิจปิโตรเคมีของเครือซิเมนต์ไทย อย่างไม่เกรงใจใคร ด้วยความภาคภูมิและบุคลิกความมั่นใจตัวเองสูง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
ปูนซิเมนต์ไทย + ดาว เคมิคอล = แข็งแกร่ง
หลังจากทนทุกข์ทรมานกับความบอบช้ำทางด้านเศรษฐกิจตลอดระยะเวลา 2 ปี ถึงวันนี้ธุรกิจหลายแห่งเริ่มหายใจคล่องมากขึ้น
โดยเฉพาะเมื่อบริษัทจัดอันดับทั้งมูดี้ส์ และเอส แอนด์ พี ที่ได้ให้เครดิตประเทศไทยจากยอดแย่มาเป็นระดับเสถียรภาพ ทำให้บรรยากาศการลงทุนในตลาดหุ้นคึกคักขึ้นมาอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
ก้าวสำคัญปูนใหญ่ปรับโครงสร้างธุรกิจใช้ยุทธศาสตร์ถอยและรุก
ปูนใหญ่เตรียมตัวออกโรดโชว์ครั้งแรกหลังปรับโครงสร้างธุรกิจใหม่ เพื่ออธิบายให้นักลงทุนนานาชาติเข้าใจเครือข่ายธุรกิจของปูนใหญ่แจ่มชัดขึ้น
และให้เกิดความมั่นใจในการร่วมลงทุนกับปูนใหญ่ด้วย ชุมพล ณ ลำเลียง ประกาศรุกและถอยในบางธุรกิจระหว่างการปรับโครงสร้างครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2541)
ว่าด้วยเรื่องกำลังการผลิตของสยามยิปซัมแห่งเครือซิเมนต์ไทย
ในยามที่รุ่งเรืองบริษัทอุตสาหกรรมขนาดยักษ์อย่างเครือซิเมนต์ไทย ซึ่งมีบริษัทลูก
หลาน เหลน มากมายอันจะเกื้อหนุนกันได้แบบครบวงจรแห่งนี้ขยายตัวอย่างรวดเร็วราวติดปีก
มีการลงทุนขนาดใหญ่ครั้งละหลายพันหลายหมื่นล้านมาให้ตื่นเต้นกันอยู่เสมอ
ทั้งการลงทุนในประเทศและต่างประเทศ แต่ในยามที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจเช่นทุกวันนี้
เครือซิเมนต์ไทยก็ได้รับบทเรียนราคาแพงไม่แพ้ค่ายอื่นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2541)
"โศกนาฏกรรมวันที่ 2 กรกฎาคม ปูนใหญ่กำไรฮวบเฉียดหมื่นล้าน"
เงินบาทลอยตัวพ่นพิษฉุดกำไรปูนใหญ่ลดเกือบหมื่นล้านบาทพร้อมบันทึกบัญชีในไตรมาส
2 ทั้งก้อน คาดปีนี้อาจจะถึงขั้นขาดทุน แต่ก็เป็นเพียงตัวเลขทางบัญชีเท่านั้นเพราะหนี้ยังไม่ถึงกำหนดส่วนจริง
ขณะที่กระแสเงินสดยังไหลคล่องเหมือนเดิมสุดท้ายผู้บริโภคต้องรับกรรมตามต้นทุนที่สูงขึ้นอีกราว
10%
ทันทีที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจาก
fixed rate ที่อิงกับตะกร้าเงินมาเป็น float rate ในลักษณะ managed float rate
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
ปูนใหญ่รอวันฟื้นตัว
"ผลประกอบการปีหน้าก็น่าจะดีกว่าปีนี้ ถ้าไม่มีเหตุที่คาดไม่ถึงเกิดขึ้น ซึ่งสำหรับหลายธุรกิจของเรา เช่น กระดาษ ปิโตรเคมี และเหล็ก ปัจจุบัน ราคาในตลาดโลกตกต่ำลงไปมากอาจเรียกได้ว่า ต่ำสุดในประวัติการณ์อยู่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)