Prepaid ดาวรุ่งมือถือ
อัตราการเติบโตอย่างรวดเร็วของตลาดมือถือ "พรีเพด" กำลังถูกจับตามอง และ ที่สำคัญ
ไปกว่านั้น อะไรคือ กุญแจความสำเร็จของบริการที่ผู้บริโภคต้องจ่ายเงินก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
กรณีศึกษาของเอไอเอส
วันที่บริษัทแอดวานซ์ อินโฟ เซอร์วิส หรือเอไอเอส นำบริการ one-2-call
ออกสู่ตลาดเมื่อมีนาคม 2542 โจทย์ของพวกเขา คือ สภาพเศรษฐกิจตกต่ำของเมืองไทย ที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี
2540 แน่นอนว่า มันเป็น ฝันร้ายของเจ้าของธุรกิจ ที่ต้องเผชิญกับภาวะกำลังซื้อ ที่หดตัวลง และหนี้สินค้า ที่เพิ่มพูนขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
จากโมบายไลฟ์ถึงไอทีวี ยุทธศาสตร์สร้าง content
งานเปิดตัวบริการใหม่โมบายไลฟ์ ที่บริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส
หรือเอไอเอส จัดขึ้นมาพร้อมๆ กับการแจ้งเกิดพรีเซ็นเตอร์ใหม่ 2 สาว "โน้ตกับการ์ตูน"
ที่มาแทน นิโคล เทริโอ นับเป็นการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ในเรื่อง ของ content งานนี้เรียกได้ว่า
เป็นการยิงปืนนัดเดียวได้นกถึง 3 ตัว
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
เอไอเอส สู่การเป็น regional player
แอดวานซ์ อินโฟ เซอร์วิส เป็นกลุ่มทุนสื่อสารที่ผ่านวิกฤติเศรษฐกิจในช่วงปี 2541 ไปได้โดยไม่ต้องเจ็บตัว และกำลังก้าวไปสู่การเรียนรู้ใหม่ เพื่อการแข่งขันในระดับภูมิภาค
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
อิทธิพลของ "ข้อมูล" กับโทรศัพท์มือถือยุคที่สาม
ในโลกของโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 จะประสบความสำเร็จ หรือเป็นที่นิยมในแต่ละประเทศได้หรือไม่นั้น จะต้องขึ้นอยู่กับ content เป็นสำคัญ นี่คือคำตอบที่ว่า ทำไมโนเกียต้องจับมือกับสนุก.คอม เอไอเอสต้องร่วมมือกับแบงก์ไทยพาณิชย์ กสิกรไทยต้องจับมือกับแทค
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
จากเสียงสู่ข้อมูล ยุทธศาสตร์ของไร้สาย
ตลาดโทรศัพท์มือถือในปี 2000 ไม่ได้เปลี่ยนแปลงในแง่ของดีกรีการแข่งขันที่ร้อนแรงขึ้นเท่านั้น แต่สิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงก็คือ การพัฒนาจากเสียงไปสู่ข้อมูล
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
ลดค่าบริการมือถือ เกมเชือดทักษิณ
สุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ก็ออกมาผลักดันให้สองผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือลดค่าบริการรายเดือน
ที่เก็บอยู่ 500 บาทลงเหลือ 400 บาท
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2541)
"เอไอเอสหันกู้บาท ไม่หวั่นดอกเบี้ย 13%"
ช่วง 2-3 ปีก่อนครั้งที่เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในยุคเฟื่องฟู บริษัทเอกชนไทยทั้งหลายแห่กู้เงินนอกเข้ามาขยายการลงทุนกันอย่างเอิกเกริก
ด้วยว่าหาแหล่งเงินกู้ได้ง่ายมากทั้งจากญี่ปุ่น ยุโรป และสหรัฐฯ ในอัตราดอกเบี้ยที่ถูกสุด
ๆ ต้นทุนทางการเงินเฉลี่ยของบริษัทมหาชนขนาดใหญ่จะอยู่ประมาณ 8-9% เท่านั้น
ทุกวันนี้ยุคสภาพคล่องล้นเหลือเป็นเพียงอดีตไปแล้ว เศรษฐกิจของไทยอยู่ในช่วงปรับตัว
สถาบันการเงินทุกแห่งหันมาระดมเงินฝากในประเทศเป็นหลัก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
แก้สัญญา 12 ข้อออกฤทธิ์ เอไอเอสเปิดศึกโทรศัพท์ไร้สาย
แม้ว่าการเดินสู้เส้นทางการเมืองเพื่อปกป้องธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในมือของ
ดร.ทักษิณ ชินวัตรดูจะไร้ผล เพราะตลอดช่วงอายุของรัฐบาลชุดที่แล้ว กลุ่มชินวัตรต้องเป็นฝ่ายนั่งมองดูเทเลคอมเอเชีย
คอร์ปอเรชั่น หรือ ทีเอกอบโกยสัมปทานสื่อสารมาไว้ในมือเป็นจำนวนมากอย่างไม่สามารถทำอะไรได้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
จูนมือถือ ยุทธการปล้นไฮเทค
จูนมือถือ ยุทธการปล้นไฮเทค ระเบิดเวลาลูกใหม่ที่สร้างความสูญเสียอย่างมหาศาล
วันดีคืนดีผู้ใช้ต้องเจอบิลเรียกเก็บเงินหฤโหดทั้ง ๆ ที่ไม่ได้โทร หรือแม้กระทั่งต้องเจอความเสี่ยง
ชนิดเดินไปห้างสรรพิสินค้าก็ยังไม่ได้ เหตุใด เอไอเอส-แทค เพิ่มตื่นแก้ปัญหา
ต้นตอของปัญหามาจากไหน จะกลางเป็นปัญหาเรื้อรังจนเกินเยียวยา หรือไม่ เป็นเรื่องต้องติดตาม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)