Dual Listing
ถึงเวลาที่ UCOM จะหายไปและมี TAC เข้ามาแทนที่ นี่คือการเปลี่ยนแปลงของทั้ง UCOM, DTAC และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในครึ่งปีแรกนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2550)
"ซอมเมอร์ส ยูเค" กองทุนวิกฤติ
ก่อนหน้านี้ไม่มีใครรู้ว่า Sommers UK เป็นใครมาจากไหน มีเพียงการร่ำลือว่าเป็นบริษัทที่บุญชัยและภูษณตั้งขึ้นมา เพื่อเข้ามาซื้อหุ้นในยูคอม เพื่อต้องการรักษาสัดส่วนหุ้นไว้ นอกจากนี้ก็จะรู้แต่เพียงว่าเป็นกองทุนการเงินจดทะเบียนในประเทศอังกฤษที่เข้ามาแปลงหนี้ของยูคอมเป็นทุน และกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่ถือครองหุ้นไว้ 36% มากกว่าตระกูลเบญจรงคกุล ที่ต้องกลายเป็นผู้ถือห้นอันดับ 2
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
Thai Art Museum ในยูคอม
ความสุขของ บุญชัย เบญจรงคกุล ไม่ใช่แค่เป็นเพียงเจ้าของผลงานภาพเขียนชั้นยอด แต่เขายังเป็นเจ้าของศิลปกรรมชิ้นเอกทุกแขนงของศิลปินชั้นครูของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
บุญชัย เบญจรงคกุล ความหมายของ "พี่ใหญ่"
ถึงแม้ว่า เขาจะมีบุคลิกนิ่มนวล แต่ชีวิตที่ผ่านมาของเขา กลับต้องเผชิญความยากลำบากทางความคิดมาแล้วหลายครั้ง
ความหมายของคำว่า "พี่ใหญ่" จึงหมายถึงผู้ที่ต้องรับผิดชอบกับปัญหาหนี้สิน
และสิ่งที่ยากที่สุด ก็คือ การสืบทอดกิจการต่อจากมือ อาชีพที่ต้องแก้ปัญหาหนี้สิน
และคู่แข่งที่มี ความแข็งแรงที่สุด 2 ราย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
บุญชัย เบญจรงคกุล Last Chance
การตัดสินใจอย่างกล้าหาญชาญชัยของบุญชัย เบญจรงคกุล ต่อการบุกยึดอำนาจ ในแทค เป็นปฏิบัติการแบบสายฟ้าแลบ ที่มีคนตั้งคำถามมากมาย แต่คนที่น่าจะเข้าใจ และรู้ความหมายจริงๆ ก็น่าจะมีภูษณ ปรีย์มาโนชรวมด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ปีแห่งการประนอมหนี้
พิษฟองสบู่แตกในปี 2540 ส่งผลให้พยัคฆ์ติดปีกอย่างทุนสื่อสารทีเอ ยูคอม และสามารถ
ต้องกลายเป็นเสือลำบากจากหนี้สินที่พอกพูนขึ้น งานนี้จึงต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของการประนอมหนี้
ใครสามารถพลิกฟื้นได้เร็วกว่ากัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
ยึดหนี้ยูคอมเสร็จ ครั้งหน้าต้องหาคู่
ยูคอม เป็นบริษัทโทรคมนาคมที่เติบโต มาเมื่อเกือบ 10 ปีที่แล้ว ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับชินวัตร
โมเดลการสร้างธุรกิจของทั้งสองจึงไม่แตกต่างกันนัก โดยเฉพาะการมีโทรศัพท์มือถือเป็นธุรกิจหลักที่เป็นตัวสร้างเม็ดเงินให้
แต่การแก้ปัญหาของยูคอม หลังเศรษฐกิจล่มสลายกลับไปได้ล่าช้ากว่า ด้วยเงื่อนไขสำคัญก็คือ
หนี้ก้อนโตที่เป็นผลมาจากการขยายธุรกิจออกไปแบบไม่ลืมหูลืมตาในยุคเศรษฐกิจฟองสบู่
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2542)
ธุรกิจ "มีเดีย" เผือกร้อนในมือทรัพย์สินฯ
ที่จริงแล้ว การขายหุ้นจำนวน 55% ในไอเอ็นเอ็น เรดิโอ นิวส์ ของสหศีนิมา
โฮลดิ้ง ในเครือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ให้กับบริษัทยูไนเต็ด
คอมมูนิเกชั่น อินดัสตรีส์ (ยูคอม) นับเป็นสูตรสำเร็จที่ลงตัวพอดีระหว่างธุรกิจ
3 กลุ่ม ยูคอม ไอเอ็นเอ็น และสำนักงานทรัพย์สินฯ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
ภูษณ ปรีย์มาโนช 'ล็อบบี้ยิสต์' แห่งค่ายยูคอม
"ความถูกต้อง เหตุผล และความยุติธรรมไม่ใช่บ่อเกิดความสำเร็จ เมืองไทยต้องรู้จักคน
KNOW WHO BETTER THAN KNOW HOW" วลีสั้น ๆ ของ ภูษณ ปรีย์มาโนช อดีตรองประธานกรรมการบริหารที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงสัจธรรมการทำธุรกิจสื่อสารที่ผ่านมาที่ใครก็ไม่อาจปฏิเสธได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)