โทรศัพท์มือถือเพื่อธุรกิจ
นับจากนี้โทรศัพท์มือถือจะกลายเป็นที่แจ้งราคาน้ำมัน อัตราแลกเปลี่ยนเงิน หรือแม้แต่เป็นที่สำหรับชำระเงินค่าสินค้า
นอกเหนือจากการใช้เป็นอุปกรณ์สื่อ สารส่วนบุคคล ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว
การใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจ ก็กำลังเริ่มขึ้นอย่างเข้มข้นนับแต่นี้เป็น
ต้นไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2545)
DJUICE dot award ควานหามันสมอง
ไม่มีใครรู้ว่า บรรดานิสิต และนักศึกษา
บริการ WAP รูปแบบต่างๆ
จะทำให้พวกเขากลายเป็นเถ้าแก่ใหม่ในเวลาเพียงแค่ข้ามคืน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
JAYMART มือถือก็มีบริการ HOME DELIVERY
รูปแบบการจับจ่ายซื้อสินค้าของคนไทยคงต้องมีการเปลี่ยน แปลงไปอีกมากในอนาคต
โดยเฉพาะเมื่อบริการ HOME DELIVERY เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ทำให้คนหลายคนที่ไม่สะดวก
ในการเดินทางไปเลือกซื้อสินค้าถึงที่ร้าน จำเป็นต้องอาศัยบริการนี้ โดยการโทรศัพท์สั่งซื้อสินค้าให้มาส่งที่บ้าน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2544)
ซีพี ออเร้นจ์ การผนึกของสองวัฒนธรรม
The future bright The future orange"
คำกล่าวลงท้ายของผู้บริหาร ซีพี-ออเรนจ์ เพื่อตอกย้ำถึงสโลแกนของโทรศัพท์เคลื่อนที่
ออเรนจ์ในวันประกาศแนะนำแบรนด์ในไทยอย่างเป็นทางการ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2544)
เบื้องหลังสัญลักษณ์สีส้ม
เพื่อให้สมกับการเป็นเจ้าของกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีเครือข่ายการลงทุน
20 ประเทศทั่วโลก ผ่านประสบการณ์ใน สนามแข่งขันที่ดุเดือดมาแล้วในหลายประเทศ
เมื่อถึงคราวที่เข้าสู่ตลาดเมืองไทย ออเรนจ์จึงต้องนำประสบการณ์ และกลยุทธ์การตลาด
ที่สร้างความแปลกใหม่ให้กับตลาดเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2544)
ทางออกของเอดีเวนเจอร์
หลังจากไม่ประสบความสำเร็จจาก
ธุรกิจเว็บท่า จนต้องหมดเงินไปเกือบ
400 ล้านบาท มาในวันนี้ชินคอร์ป
กำลังพลิกสถานการณ์ให้กลับขึ้นมาเป็นบวก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2544)
Modern Society
ผมยอมรับว่าการมองภาพรวมของ "ผู้จัดการ 100 "
คราวนี้ แทบไม่มีสัญญาณพิเศษเอาเสียเลย มัน
อาจจะสอดคล้องกับ "ความจริงประเทศไทย" ของ
ทักษิณ ชินวัตร ก็เป็นได้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2544)
ที่มาของอักษร D
เหตุผลหลักๆ ที่ทำให้บริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิ เคชั่น จำกัด หรือ
แทค หันมาปรับยุทธศาสตร์ใหม่ เพื่อรับมือ คู่แข่งขันใหม่ที่กำลังเข้าสู่ตลาดอีก
2 ราย คือ WCS ของเครือ เจริญโภคภัณฑ์ ที่ร่วมทุนกับออเรนจ์ ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่จากอังกฤษ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2544)
จากตะวันโมบายสู่ "ฮัทชิสัน"
การกลับมาใหม่ของ
ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ระบบ 1900 ที่เคยได้ชื่อว่า
มีลูกค้าน้อยที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
ซูเปอร์ "พีซีที"
กระแสเชี่ยวกรากของตลาดโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ที่คาดกันว่าจะเพิ่มดีกรีการแข่งขันขึ้นเรื่อยๆ
จากการที่มีคู่แข่งหน้าใหม่เพิ่มขึ้น ทำให้บริการพีซีที จำเป็นต้องหันมาสร้างจุดขายใหม่ให้กับตัวเอง
ทั้งในแง่ของการนำเทคโน โลยีใหม่ๆ เข้ามา และการวาง concept ใหม่ของการให้บริการให้มีสีสันมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)