CRM สร้างประสบการณ์ให้ลูกค้า
ด้วยภาระหน้าที่ต้องรับผิดชอบดูแลส่วนงานบริหารลูกค้า หรือ CRM (Customer
Relation Management)
ตั้งแต่เป็นแค่หน่วยงานเล็กๆ ฝังตัวอยู่ในแผนกการตลาด พอ 3 ปีผ่านไป โจทย์ทางการตลาดเปลี่ยนลูกค้ามากราย
แต่รายได้ต่อหัวต่ำลง บริการ non voice เริ่มมีบทบาท
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
กะเทาะวิธีคิด เบื้องหลัง Happy Dprompt
ด้วยความที่ตกเป็นรองคู่แข่งมาตลอด 4 ปี ทำให้ทีมงานเล็กๆ เหล่านี้ ต้องลุกขึ้นมายกเครื่องบริการ Dprompt ให้ขึ้นมาต่อกรกับคู่แข่ง ที่แข็งแรงกว่าในตลาด และครั้งนี้พวกเขาจะคิดแบบเดิมๆ ไม่ได้อีกแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ที่มาของรอยยิ้ม
ด้วยความที่การทำตลาดในครั้งนี้ต้องอาศัยมิติที่ลึกซึ้ง และรอบด้านมากกว่าเดิม
ชื่อบริการเดิม Dprompt ที่ตั้งขึ้นเพื่อบ่งบอกความง่าย อันเป็นจุดขายของบริการ
prepaid แต่ไม่สอดคล้องกับบุคลิกใหม่ที่กำลังถูกสร้างขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ระบบหลังบ้าน
หากระบบเครือข่าย การคิดเงิน หรือแม้แต่ระบบ CRM ระบบตอบรับอัตโนมัติไม่รองรับได้แล้ว
การปรับโฉมหน้าบริการใหม่เป็นเรื่องทำได้ยากนอกเหนือจาก capacity ของเครือข่ายที่ต้องรองรับกับปริมาณการโทรที่เพิ่มขึ้นแล้ว
ความพิเศษของบริการบัตรเติมเงิน prepaid แตกต่างไปจากบริการ postpaid คือ
เรื่องของการสร้างเครือข่าย Intelligence Network หรือ IN
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
Happy birthday
ดูเหมือนจะเป็นครั้งแรกที่บุญชัย เบญจรงคกุล ปรากฏตัวในงานแถลงข่าวความร่วมมือระหว่าง
DTAC และ GMM Grammy วันที่ 28 พฤษภาคมที่ผ่านมา ห้องบอลรูมโรงแรมรีเจ้นท์ นับตั้งแต่สลับเก้าอี้ให้วิชัย เบญจรงคกุล มาบริหารงานใน DTAC เป็น Co-CEO
คู่กับ ซิกเว่ เบกเก้ ที่ส่งมาจากเทเลนอร์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
FUTURE LAB สูตรลับพ่อครัวปรุงบริการ
แม้จะเป็นเพียงแผนกเล็กๆ ที่ฝังตัวอยู่บนชั้น 27 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 1 แต่ที่นี่คือ ส่วนหนึ่งของคลังสมอง ที่เอไอเอสใช้คิดค้น และกลั่นกรองบริการใหม่ๆ ป้อนตลาด non voice
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
พลิกโฉม MobileLIFE
ถ้าเป็นก่อนหน้านี้ สักปี หรือสองปี การเปิดบริการเสริมบนโทรศัพท์มือถือหรือ non voice อาจไม่ต้องทุ่มเงินลงทุนถึงเพียงนี้ หากไม่ใช่เพราะบริการ non voice ได้ถูกตั้งเป้าหมายเป็นยุทธศาสตร์ทางธุรกิจ
ที่จะสร้างรายได้ให้กับเอไอเอสในอนาคต หรือเป็น S Curve ตัวใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
My
หลังจากปล่อยทีเด็ดมาแล้ว 2 ครั้งในช่วงเวลา 2 ปี เริ่มตั้งแต่ re-brand และปลดล็อกอีมี่ ที่เรียกว่าเป็นการพลิกโฉมอุตสาหกรรมโทรศัพท์มือถือส่งผลให้เกิดการค้าเครื่องลูกข่ายเสรีไม่ต้องผูกติดกับโอเปอเรเตอร์รายไหน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
ระบบหลังบ้าน
ทุกวันนี้ การมีเครือข่าย หรือ network ที่ครอบคลุมการใช้งานไม่ใช่สิ่งที่จำเป็นที่สุดสำหรับโอเปอเรเตอร์โทรศัพท์มือถือเพียงอย่างเดียวอีกต่อไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
ปฏิวัติงานออกแบบมือถือ แลดูโลว์-เทคแต่เตะตาเตะใจ
บนโต๊ะอาหารเช้าในวันหนึ่งของต้นปีที่แล้ว Rudi Lamprecht เอ่ยกับ George
Appling ว่า "เราจำเป็นต้องทำอะไรที่มันเด่นแหวกแนวแล้วล่ะ" สิ่งที่ Lamprecht ซึ่งเป็น
group chairman ของ Siemens และผู้อำนวยการของ cellular division บริษัทเดียว
กันต้องการสื่อคือ โทรศัพท์มือถือที่เป็นนวัตกรรมใหม่ และฉีกออกไปจากที่เห็นกันเกลื่อน
ตลาดในเวลานี้ คือ แลดูโลว์-เทค แต่เตะตาเตะใจทันทีที่ได้พบเห็น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)