ธนชาตจัดเต็ม
การรวมกิจการระหว่างธนาคารธนชาตและธนาคารนครหลวงไทยเสร็จสมบูรณ์เมื่อต้นเดือนตุลาคม 2554 หลังจากใช้เวลาเกือบ 2 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2554)
ตุลาคม 2554 จากสีแดงกลายเป็นสีส้ม
ในเดือนตุลาคมนี้ธนาคารสาขานครหลวงไทยจะไม่เหลือร่องรอยให้เห็นอีกต่อไป เพราะสาขาทุกแห่งต้องปรับเป็นสาขาของธนาคารธนชาต
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2554)
ประวัติผู้บริหาร
ประวัติผู้บริหาร ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2554)
ธนาคารธนชาตในมิติใหม่ “เราจะแข่งกับใครก็ได้ในประเทศนี้”
อาจจะเร็วเกินไป หากจะบอกว่าธนาครธนชาตมุ่งหมายจะเป็นหนึ่งในผู้นำธนาคารพาณิชย์ แต่ก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าเป็นสถาบันการเงินน้องใหม่ที่ทะยานจากธนาคารขนาดเล็กกลายไปเป็นแบงก์ขนาดใหญ่ เป็นเรื่องน่าจับตามองไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2554)
อยากจะเป็น Big Player
ความเคลื่อนไหวของธนชาตเริ่มน่าจับตามองมากขึ้นหลังจากเข้าซื้อกิจการธนาคารนครหลวงไทย ลุล่วงไปเมื่อต้นปีผ่านมา โดยเฉพาะกิจกรรมด้านการตลาดได้เปิดฉากแนวรุกมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2553)
แล้วก็ถึงคราว...ธนาคารนครหลวงไทย
"ปิดตำนานธนาคารนครหลวงไทย" กลายเป็นข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์รายวันในหน้าเศรษฐกิจแทบทุกฉบับ หลังจากที่ธนาคารธนชาตได้รับสิทธิ์ในการซื้อกิจการธนาคารที่มีอายุยาวนานถึง 69 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
สโกเทียแบงก์พลิกวิกฤติเป็นโอกาส
ท่ามกลางปัญหาที่กำลังปั่นป่วนอยู่ในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ที่กำลังหาทางออกเพื่อประคับประคองให้สถาบันการเงินอยู่รอด ทว่าสถาบันการเงินบางแห่งนอกจากจะไม่ได้รับผลกระทบโดยตรงแล้ว ยังใช้วิกฤติพลิกสถานการณ์ให้เป็นโอกาสด้วยการขยายธุรกิจให้เติบโตมากกว่าเดิม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2551)
ธนชาต แบงก์ลูกครึ่งไทย-แคนาดา
หลังจากที่ธนาคารธนชาตเปิดทางให้พันธมิตรโนวาสโกเทีย เข้าถือหุ้น 24.98 เปอร์เซ็นต์ เมื่อปี 2550 โดยมีเป้าหมายเป็น Universal Banking เทียบเท่าระดับสากล ไม่เพียงเท่านั้น ยังต้องการขยับจากแบงก์ขนาดเล็กไปสู่แบงก์ขนาดกลางหรือขนาดใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2551)
ธนาคารสีส้ม
ใช้เวลาเพียงไม่กี่ปีธนาคารธนชาตก็สามารถสร้างเอกลักษณ์ให้เป็นที่จดจำของลูกค้าได้สำเร็จ นอกจากสีส้มที่เริ่มคุ้นตากันแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้ธนชาตโดดเด่นขึ้นมาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยอยู่ในขาขึ้นเช่นปัจจุบันนี้ก็คือ ดอกเบี้ยเงินฝากที่สูงจนจูงใจผู้ฝากเงินได้มากกว่าธนาคารพาณิชย์ทั่วไป
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)