จับตาหุ้น 10 ตัวที่หล่อเลี้ยงตลาดปี'34
ปี 2533 เป็นปีที่นักลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้พบกับประสบการณ์หลากหลาย
นักเล่นหุ้นหลายคนมีกำไรมหาศาลในช่วงครึ่งปีแรก ในขณะที่อีกหลายต่อหลายคนต้องประสบกับการขาดทุนอย่างแสนสาหัส
ในช่วงครึ่งปีหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
พอร์ตโฟลิโอ พัง!?
วิกฤตการร์อ่าวเปอร์เชีย เมื่อ 2สิงหาคม ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อภาวะการลงทุนในทั่วโลก
ดัชนีราคาหุ้นที่ตลาดหลักทรัพย์ไทย ลดงลง 52.41% ถือเป็นการตกต่ำที่สุดเป็นอันดับ
2 มในบรรดาตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก พอร์ตโฟลิโอของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ขาดทุนไปตามๆ
กัน มากน้อยขึ้นอยู่กับฝีมือผู้บริหารฯ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
แบริ่งฯ กระบี่มือหนึ่งค้าหุ้นและวิจัย
มีเหตุผลเชิงธุรกิจที่สำคัญที่อยู่เบื้องหลังการทำมาหากินอย่างเป็นล่ำเป็นสันของบริษัทค้าหุ้นชาติยุโรปในเอเชีย
นั่นคือค่าธรรมเนียมค้าหุ้น ที่ตลาดเอเชียไม่ว่าจะเป็นกรุงเทพฯ จาการ์ตา
มะนิลา ไต้หวัน กัวลาลัมเปอร์ สิงคโปร์ ฮ่องกง และโตเกียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
7 ข้อจำกัดในการโอนหุ้น
ปัจจุบันกิจการของตลาดหลักทรัพย์กำลังเป็นที่กล่าวขวัญอย่างกว้างขวาง บริษัทหลากหลายธุรกิจพากันให้ความสนใจต่อตลาดหลักทรัพย์
ด้วยเหตุที่เป็นแหล่งเงินทุนราคาถูก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
คาซูฮิโก ทากาฮาชิ "ไม่จำเป็นต้องรู้จักผบ.ทบ. มากเท่าผู้ว่าแบงค์ชาติ"
บรรดาโบรกเกอร์ใหญ่ ๆ ของญี่ปุ่นได้เข้ามาตั้งสำนักงานตัวแทนกันนานหลายปีแล้ว
ไม่ว่าจะเป็น โนมูระ, นิกโก้, ยามาอิชิ แต่ไดวา ซีเคียวริตี้ส์ 1 ใน 5 โบรกเกอร์ยักษ์ของญี่ปุ่นที่ไปใหญ่ในสหรัฐและยุโรปอยู่ไม่น้อยนั้น
เพิ่งจะได้เข้ามาตั้งสำนักงานเอาเมื่อต้นปี 2532 นี่เอง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
เอ็มซีซี
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์เอ็มซีซีในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมามีการเคลื่อนไหวที่น่าจับตาดูหลายประการ
โดยเฉพาะราคาหุ้นที่พุ่งสูงขึ้นอย่างมากมาย!!
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
สง่า สุสมบูรณ์ "นักเลงหุ้นภูธรวัย 70 ปี"
ห้องค้าหลักทรัพย์ของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์เจ้าพระยา เริ่มเปิดบริการเมื่อ
18 กรกฎาคม 2531 นับเป็นห้องค้าหลักทรัพย์แห่งแรกในเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยมีสมชาย
มะระกานนท์ ผู้จัดการฝ่ายหลักทรัพย์ซึ่งเป็นน้องชายแท้ๆ ของเริงชัย มะระกานนท์
ผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
เจมส์ เคเพิล
เรื่องเจมส์ เคเพิลร่วมทุนกับบงล.เอกชาติไม่ใช่เรื่องที่ "ผู้จัดการ"
จะจั่วหัวไว้เล่นๆ แต่เป็นเรื่องจริงที่รอเพียงการอนุมัติจากแบงก์ชาติเท่านั้น!
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
วาระสุดท้ายของนักเคาะกระดาน
ตลอด 3 ชั่วโมงที่เดินๆ วิ่งๆ ในห้องค้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งมีพื้นที่เพียง
650 ตร.เมตรนั้น นักเคาะกระดาน 800 กว่าชีวิตสามารถสร้างกำไรขาดทุนได้วันละหลายสิบหลายร้อยล้านบาท
คนเหล่านี้มีอัตราค่าจ้างเดือนละไม่กี่พันบาท ทำงานมากกว่าวันละ 12 ชั่วโมง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)