"ที่ภัทรฯ ไม่มี DEAL ประเภทหวือหวา เราต้องการทำ QUALITY ORIENTED"
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ภัทรธนกิจในหลายปีที่ผ่านมามีชื่อในเรื่องการทำอันเดอร์ไรต์หุ้นเข้าตลาดอย่างมาก
ๆ มีหุ้นหลายตัวที่ภัทรฯ พาเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วเจอปัญหาทางเทคนิคโดยเฉพาะเรื่องราคา
เป็นเหตุให้นักลงทุนจำนวนมากพากันโวยวาย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"เตรียมลงทุน หุ้นกู้ตัวใหม่ในปีหน้า"
การเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจการเงินในปัจจุบันมักจะก่อเกิดนวัตกรรมแปลก ๆ
ใหม่ ๆ ขึ้นในระบบการเงินอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
กลยุทธ์เฟิร์สท์แปซิฟิคฯ หนทางลัดเข้าตลาดหุ้นไทย
เฟิร์สท์แปซิฟิคแลนด์พาร์ทเนอร์ส (FPLP) บริษัทที่ทำธุรกิจด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในเครือของกลุ่มเฟิร์สท์แปซิฟิคที่ฮ่องกง
เคยยื่นขอเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไป ตั้งแต่ 11 ธันวาคม 2533 ด้วยเหตุผลที่ว่าการทำธุรกิจด้านนี้จำเป็นต้องใช้เงินลงทุนมากและบริษัทพยายามที่จะใช้เงินกู้ให้น้อยลง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
MARKET FOR CORPORATE CONTROL ในตลาดหุ้นไทย
ตามความเชื่อในทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วินที่ว่าธรรมชาติจะเป็นผู้กำหนดเลือกสรรพสิ้งทีมีชีวิตว่าสิ่งไหนควรอยู่
และสิ่งไหนควรสูญพันธุ์ไป แม้กระทั่งสิ้งที่คงอยู่นั้นควรปรับตัวและเป็นรูปแบบใดถึงจะเหมาะสมที่สุด
ตามหลักของ "อยู่รอดมาได้เพราะเหมาะสมที่สุด" (SURVIVAL OF THE
FITTEST)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
สนทนานักลงทุน
ประเด็น MARKET FOR CORPORATE CONTROL กำลังเป็นแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นมากในตลาดหุ้นไทยในช่วงจากนี้ไป
ในฐานะเป็นพลังขับดันที่สำคัญในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการจัดการของสถาบันธุรกิจเอกชน"ผู้จัดการ"
ได้หยิบประเด็นนี้ขึ้นมาสนทนากับผู้เชี่ยวชาญ "ดร.พิพัฒน์ พิทยาอัจฉริยะกุล"
จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงประโยชน์ที่พลังขับดันตัวนี้มีต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการธุรกิจในไทยหรือไม่อย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
ข้อจำกัดลงทุนในตลาดหุ้น
ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดในทางหลักการถึงพฤติกรรมความผันผวนของราคา และการซื้อขายในตลาดการลงทุนหุ้นกรุงเทพ
ว่าตัวการสำคัญมาจากอิทธิพลของนักลงทุนรายย่อยที่กระจัดกระจาย และเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง
2 ปีที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)