การบินไทยบินหลงเป้า
ชั่วเวลาเพียงปีเดียวนับจากเดือนเมษายน 2532 ถึงพฤษภาคม 2533 การบินไทยขอซื้อเครื่องบินครั้งใหญ่ถึงสองครั้ง
รวมจำนวน 31 ลำเป็นเงินเกือบแสนล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)
การบินไทย
การบินไทยเป็นรัฐวิสาหกิจที่มี "บิ๊กบอส" มาจากทหารอากาศ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่ทัพฟ้าครั้งใดก็มักจะมีผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารในการบินไทย
เป็นประวัติศาสตร์ที่ดำรงอยู่จริงมาตลอด 28 ปีของการก่อตั้งสายการบินแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
การบินไทย
การตัดสินใจของคณะกรรมการบริหารการบินไทยในการเปลี่ยนเครื่องยนต์ที่ใช้กับเครื่องบินจากยี่ห้อยีอีมาเป็นแพร็ต
แอนด์วิทนี่ย์ เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งของการบินไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
"ชี่" - ว่าด้วยปัญหาการบินไทยในมิติใหม่เอี่ยม
ความเป็นไปทั้งหลายทั้งปวงในโลกนี้ หลายสิ่งทำความเข้าใจกันได้ด้วยหลักเหตุผลธรรมดาสามัญ
หลายอย่างอยู่เหนือกว่าที่ตรรกะของความคิดแบบวิทยาศาสตร์จะให้ความกระจ่างได้
และบางสิ่งบางอย่างรับรู้กันได้ด้วยมุมมองทั้งสองแบบ แล้วแต่ว่าจะปักใจกับเหตุผลแบบไหน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
กว่าจะพ้นหุบเหวแห่งวิกฤต สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์SAS
"ความพอใจของลูกค้าเป็นของล้ำค่าสิ่งเดียวที่คุ้มกับการเป็นเอสเอเอสใหม่"
"เราจะสรรหาเครื่องบินสวยหรูมาใช้เท่าไหร่ก็ได้เท่าที่ใจอยาก แต่เราไม่มีวันอยู่รอดได้
ถ้าปราศจากผู้โดยสารผู้เต็มใจบินกับเอสเอเอน"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
คืนการบินไทยให้ประชาชน
กระทรวงการคลังต้องการให้การบินไทยเข้าตลาดหุ้น เพื่อลดภาระของตัวเองในการค้ำประกันเงินกู้ต่างประเทศ
แต่ผู้บริหารการบินไทยกลับบอกว่าไม่จำเป็น กู้เองได้โดยคลังไม่ต้องค้ำ ก็แปลกดีที่เจ้าของบริษัทต้องการอย่างนี้แล้ว
คนที่เป็นลูกจ้างยังลุกขึ้นมาคัดค้านหัวชนฝาราวกับบริษัทนี้เป็นของตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
"ถ้าการบินไทยเข้าตลาดหุ้นไม่เห็นเสียหายอะไร"
ในฐานะเป็นแบงเกอร์หากการบินไทยจะริเวอร์เรทเงินเข้ามาเพื่อมาขยายหรือซื้อเครื่องบิน
เหตุผลที่เขาบอกว่าไม่สมควรต้องเข้าตลาดหุ้น เพราะมีความสามารถในการก่อหนี้ได้เองนั้น
ประเด็นนี้ ผมว่ามองกันคนละจุด การจะก่อหนี้หรืออะไรก็ตาม ในเมื่อบริษัทนี้เป็นบริษัทจำกัด
สัดส่วนของเงินทุนกับหนี้ต้องได้อัตราส่วนกันไม่ใช่ว่าเราไปใช้เงินกู้ๆๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
EDIFACT ล่ามสมองกล
ความแตกต่างในด้านภาษาที่มนุษย์ใช้พูดจากันเคยได้รับการหยิบยกขึ้นมาพิจารณาว่า
เป็นปัญหาสำหรับการสื่อสารของพลโลก จนถึงกับมีการคิดสร้างภาษากลางที่มนุาย์ทุกเผ่าพันธุ์ใช้เป็นสื่อพูดกันรู้เรื่อง
เรียกกันว่า ภาษา "เอสพรอรันโด้" ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษผสมกับภาษาสเปน
แต่ก็ไม่สำเร็จ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2532)
กว่าจะพ้นหุบเหวแห่งวิกฤต"บริติช แอร์เวย์ส"
"กว่าจะพ้นหุบเหวแห่งวิกฤต" เป็นคอลัมน์ใหม่ที่นำเสนอเรื่องราวสไตล์การบริหารการจัดการของบริษัทยุโรป
ซึ่งประสบปัญหาจากการดำเนินธุรกิจด้วยสาเหตุหลากหลายตามประเภทอุตสาหกรรม
แต่บริษัทเหล่านี้สามารถแก้ปัญหาและพ้นจากวิกฤติการณ์ที่เผชิญอยู่ให้ลุล่วงด้วยดี
และพลิกโฉมหน้าขึ้นมาเป็นกิจการชั้นแนวหน้าแห่งอุตสาหกรรมแขนงนั้น ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)