"ไม้สักทอง หลอกกันเล่นหรือเปล่า"
ไม้สักทอง ราชาแห่งพันธ์ไม้เศรษฐกิจ เริ่มจุดประกายให้กับธุรกิจสวนเกษตรครั้งใหม่คราวนี้มีการประกันการขายในแต่ละปีด้วยราคาที่ดึงดูดใจลูกค้า ทุกวันนี้กว่า20 โครงการที่กำลังโฆษณาชวนเชื่อตามสื่อต่าง ๆ ทำให้หลายคนต้องตั้งคำถามว่ามีความเป็นไปได้แค่ไหน หรือว่าเป็นแค่กลยุทธ์การขายที่ดินเปล่า ๆ เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
อารีย์ ชุ้นฟุ้ง ยังหายใจเป็นน้ำตาล
"คุณอารีย์เป็นคนเก่ง…" คนในวงการน้ำตาลหลายคนยอมรับกับ "ผู้จัดการ"
เมื่อถามถึงบุคคลที่ชื่อ อารีย์ ชุ้นฟุ้ง กรรมการผู้จัดการบริษัทน้ำตาลวังขนาย
ยักษ์ใหญ่วงการอุตสาหกรรมน้ำตาล
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2536)
ทางสองแพ่งของ “รัฐบาลชวน”
การสานต่อข้อตกลงร่วมเขตการค้าเสรีอาเซียน (อาฟต้า) ของรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ปรากฎว่านโยบายดังกล่าวกลับกลายมาเป็นความกดดันทางการเมืองอย่างหนักต่อการตัดสินใจดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจใน “รัฐบาลชวน” ตั้งแต่วันแรกที่ได้เข้ามารับหน้าที่ในรัฐบาล
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"ปาล์มไทยล้าหลังมาเลย์ตลอดกาล"
เมื่อประมาณปลายเดือนสิงหาคม'35 ที่ผ่านมากรมส่งเสริมการส่งออก หน่วยงานในสังกัดกระทรวงพาณิชย์
ได้ดำเนินการเปิดศูนย์พาณิชยกรรม ภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานีขึ้นนับเป็นศูนย์พาณิชยกรรมภูมิภาคแห่งที่ 5
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)
"การปรับตัวของเอสทีซีด้วยสัญชาติญาณพ่อค้า"
"จากเถ้าแก่โรงสี พ่อค้าส่งออกมันข้าว และข้าวโพด จนมียอดขายกว่า 7
พันล้านบาท แต่ต้องฝากอนาคตไว้กับการค้าพืชเกษตรในตลาดโลก ที่มีราคาผันผวนด้วยสัญชาติญาณของพ่อค้าจึงต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด และเติบโตต่อไปโดยเข้าสู่อุตสาหกรรมเกษตรอย่างหนักหน่วงและจริงจังจึงเกิดขึ้น"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)
"ขาดแคลนน้ำ ปัญหาระยะยาวที่ต้องเร่งแก้ไข"
ช่วงระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนตลอดระยะห้าปีที่ผ่านมา ปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบถึงคนทั้งประเทศหนีไม่พ้นปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้ำ รัฐบาลแต่ละรัฐบาลในช่วงเวลานั้น ๆ ทุ่มเทงบประมาณจำนวนไม่น้อยเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกรที่ต้องอาศัยน้ำในการเพาะปลูก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
"เหลียนฟ่ง" ผู้อยู่เบื้องหลังนักสู้แห่งไทยวา"
ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของไทยวากรุ๊ปมีตำนานแห่งชีวิตนักสู้ชาวสิงคโปร์ที่
"โฮริทวา" ได้บันทึกไว้เป็นความทรงจำในหนังสือชื่อ "EATING
SALT" หรือ "นักสู้แห่งไทยวา" เพื่อเป็นมรดกทางความคิดแก่ลูกหลาน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
สุจินต์ ธรรมศาสตร์ นักวิจัยสัตว์น้ำของชีพี
นับเป็นเวลากว่า 5 ปีมาแล้วที่ซีพีได้บุกเบิกธุรกิจด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจนเติบใหญ่และรุ่งเรืองขึ้นมา
ด้วยการดำเนินกิจการอย่างครบวงจรตั้งแต่การผลิตและจำหน่ายอาหาร ฟาร์มเพาะเลี้ยง
การส่งเสริมเกษตรกร การแปรรูปสินค้า ตลอดจนถึงงานทางด้านวิชาการ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
การเติบโตของฟาร์มจระเข้ที่มีอุปสรรค
ใครจะนึกว่าสัตว์ป่าดึกกำบรรพ์ที่สามารถกัดคนตายได้อย่างจระเข้าจะกลายเป็นสัตว์ที่เพาะเลี้ยงได้
แต่อุทัย ยังประภากรทำสิ่งนี้มาตั้งแต่เมื่อ 40 กว่าปีก่อนขณะนี้กรมป่าไม้กำลังผลักดันกฎหมาย
ซึ่งอาจเป็นคุณได้เท่า ๆ กับเป็นโทษสำหรับฟาร์มจระเข้ฯ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
ความเป็นสัตว์และเศรษฐกิจของจระเข้
จระเข้เป็นสัตว์ดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่มากที่สุดประเภทหนึ่งของโลกในระดับสมัยเดียวกับไดโนเสาร์ที่สูญพันธุ์ไปนานหลายล้านปีแล้วทีเดียว
จากหลักฐานทางวิชาการยืนยันได้ว่าจระเข้นั้นกระจัดกระจายอยู่ในเขตร้อนทุกส่วนของโลกที่มีอุณหภูมิประมาณ
70 องศาฟาเรนไฮต์
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)