มา บูลกุล พ่อที่ลูกๆ ไม่ถอดแบบ
ม้าเลียบคุน เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2440 เป็นลูกชายคนแรกของม้าถ่องเจ๊ง
(พ่อ) กับจีเข่งชิน (แม่) พ่อของเขาเป็นชาวจีนกวางตุ้งอพยพครอบครัวมาพึ่งแผ่นดินสีเขียวในประเทศไทย
อาศัยความชำนาญพิเศษอันเป็นลักษณะของชาวกวางตุ้งทั่วไปคือ ช่างฝีมือรับจ้างเลี้ยงครอบครัว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)
THAI-WAH THE MAN, THE SITUATION AND THE FUTURE
ไทยวาเป็นธุรกิจแบบเอเชียดั้งเดิมที่มีพัฒนาการไม่ขาดสาย ผูกพันกับสถานการณ์ในลักษณะที่เป็นฝ่ายถูกกระทำมาตลอด
ในห้วงเวลาเกือบๆ 40 ปีแล้ว เมื่อปลายปีที่แล้วมีความพยายามอย่างมากของผู้บริหารเพื่อผลักดันไทยวาให้พ้นวิถีดำเนินเดิมๆ อันจะทำให้มองเห็นอนาคตแจ่มชัดขึ้น วันนี้สิ่งที่คาดหวังเหล่านี้ยังไม่อาจหาคำตอบได้แจ่มชัดนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
เมื่อยิดวาโฮทำให้เพื่อน (หวั่งหลี) โกรธ แต่เสี่ยหว่างยิ้มร่า!?
ช่วงกึ่งพุทธกาล หากคนในวงการธุรกิจหนุ่มน้อยยุคนั้นไม่รู้จัก สุริยน ไรวา
ก็นับว่าช้าไปหลายก้าว เพราะเขาคือนักธุรกิจไทยผู้ยิ่งยงคนหนึ่งที่ปลูก “หน่อ”
ธุรกิจหลายแขนงในประเทศไทย ตั้งแต่กิจการธนาคารมาจนถึงโรงงานแป้งสาลีแห่งแรกในประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
เครือข่าย THE WAH-CHANGE GROUP
วาชัง อินเตอร์เนชั่นแนล เกิดขึ้นครั้งแรกที่จีนแผ่นดินใหญ่และนิวยอร์ก
สหรัฐอเมริกา ในปี 2448 เมื่อ ดร.เคซีลี. สิ้นชีวิตเมื่อประมาณ 2510 กิจการวาชังที่นิวยอร์กแทบไม่มีอะไรเหลือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
ปุ๋ยแห่งชาติเจอทีเด็ดผู้บริหารจอมโกง เงินหลายล้านบาทก็เลยกลายเป็น "ปุ๋ย" ไปจริงๆ
ปุ๋ยแห่งชาติเป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นมาเพื่อทำโครงการใหญ่ระดับหมื่นล้านบาทตามแผนพัฒนาชายฝั่งตะวันออกหรือที่เรียกกันว่า
อีสเทิร์นซีบอร์ด" เพื่อส่งผ่านความ "โชติช่วงชัชวาล" จากการค้นพบแก๊สธรรมชาติ
ไปยังชาวไร่ชาวนาในรูปแบบปุ๋ยเคมีราคายุติธรรมในปริมาณที่ทำให้หมดความจำเป็นที่จะต้องนำเข้าปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศอีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
อาณาจักรนานาพรรณกรุ๊ปจาก COMMODITY สู่ SHIPYARD INDUSTRY
นับตั้งแต่ปี 2508 บริษัทนานาพรรณเอ็นเตอร์ไพร้ซ์ ถือเป็น "นำร่อง"
ของการทำส่งออกสินค้าพืชไร่ จากละหุ่ง มาจนถึงข้าวโพด ปัจจุบันนานาพรรณฯ
ได้ชื่อว่าเป็นเจ้าพ่อวงการค้าส่งออกข้าวโพดที่น่าเกรงขามเอามาก ๆ รายหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
เซลส์แมน นักอภิปราย และนักค้าเงิน...
นานาพรรณกรุ๊ป สามารถส่งข้าวโพดอันเป็นสินค้าหลักของเขาในปริมาณ 10% ของปริมาณการส่งออกทั้งหมดมากบ้างน้อยบ้างไม่เกิน
3% หรือประมาณ 2.5-3แสนตัน/ต่อปี มูลค่าของยอดขายโดยประมาณ 600-700 ล้านบาท
ส่วนสยามน้ำมันละหุ่งนั้นยอดขายปีละประมาณ 500 ล้านบาท/ปี
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
ภาวะคับขันที่จะต้องปรับตัวมาถึงแล้ว
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ตัวเลขล่าสุดจากเอฟเอโอปรากฏว่าถ้ามีตลาดจริง ๆ
แล้วจะสามารถผลิตอาหารไปเลี้ยงคนได้ถึง 350 ล้านคน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2528)