ที่สุดของโครงการรถไฟฟ้าเจ้าปัญหา
กรณีที่บริษัทลาวาลินได้รับสัมปทาน 30 ปีทำโครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนมูลค่าการลงทุนไม่ต่ำกว่า
55,000 ล้านบาทนั้น เป็นกรณีศึกษาถึงการแปรรูปรัฐวิสาหกิจบนกองผลประโยชน์มหาศาล
อันก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและประชาชน เนื่องจากโครงการนี้เป็นสาธารณูปการที่สำคัญ
และต้องเร่งให้เกิดขึ้น เพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์การจราจรในกรุงเทพฯ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
230,000,000,000 บาท…เพื่อแก้ปัญหาจราจรหรือยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง ?!
ประเทศไทยขณะนี้กำลังทดสอบแนวความคิดใหม่ที่อีกหลายประเทศยังไม่ทำกัน ก็คือการให้สัมปทานเอกชนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะสัมปทานในโครงการด้านการจราจร และขนส่งขนาดใหญ่อันเป็นความผูกพันระหว่างนักการเมืองกับนักลงทุนข้ามชาติอย่างมาก นับตั้งแต่มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
โฮปเวลล์ ความฝันเพิ่งเริ่มต้น
และแล้วโครการทางรถไฟยกระดับของการรถไฟแห่งประเทศไทย ที่บริษัทโฮปเวลล์จากฮ่องกงอาสาเข้ามาเป็นผู้ลงทุนให้
ก็เดินหน้าไปอีกก้าวหนึ่งเมื่อมีการเซ็นสัญญาสัมปทานระหวางโฮปเวลล์ ประเทศไทยกับกระทรวงคมนาคมและการรถไฟ
เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
ดอนเมืองโทล์ลเวย์ได้เกิดแล้ว หาเงินเองแบบ NON-RECOURSE
15 เดือนหลังจากเซ็นสัญญาสัมปทานกับกรมทางหลวงเมื่อสิงหาคม 2532 บริษัทดอน
เมือง โทล์ลเวย์ จำกัดเพิ่งจะลงนามในสัญญาเงินกู้ในประเทศมูลค่า 3,880 ล้านบาทและเงินกู้ต่างประเทศ
140 ล้านเหรียญสหรัฐเมื่อกลางเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
เชาวลิต ผู้วาดฝันให้ "จำลอง" ในคลองแสนแสบ
วันที่ 1 ตุลาคม 2533 เป็นวันแรกที่กรุงเทพมหานครเปิดให้มีการเดินเรือในคลองแสนแสบอย่างเป็นทางการโดยมี
หจก. ครอบครัวขนส่งเป็นผู้รับดำเนินการ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
โฮปเวลล์ หลอกกันเล่นหรือเปล่า?
บริษัท โฮปเวลล์ลัดฟ้าจากฮ่องกงนำโครงการสวยหรูมูลค่าแปดหมื่นล้านบาท มาเสนอ
ให้กับการรถไฟฯ โดยรัฐไม่ต้องควักกระเป๋าสักสตางค์เดียว แต่ขอสิทธิในการพัฒนาที่ดินของ
การรถไฟฯ เป็นข้อแลกเปลี่ยน เป็นโครงการที่เป็นความหวังใหม่อีกโครงการหนึ่งของคนเมืองหลวงที่ทุกข์ทนกับปัญหาการจราจรอันแสนสาหัสมานานปี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
ท่าเรือแหลมฉบัง ไม่ใช่ที่ใครก็ตามจะเข้ามาหากำไรสูงสุด
การให้เอกชนบริหารการท่าเรือที่แหลมฉบังเป็นเวลา 5 ปีนั้น ผมคิดว่าเป็นจุดที่เหมาะสมแล้วเพราะตามหลักสากลอายุการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมโดยไม่ต้องเสียค่าบำรุงรักษามากจะมีอายุประมาณ
5-10 ปี ซึ่งเป็นการสำรวจเครื่องจักร ที่ใช้ในการท่าเรือประเทศไทย ที่เราทำโดยความร่วมมือกับสหประชาชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
สยามเฆมี
ในชีวิตนี้ จิระ รัตนรัต กรรมการผู้จัดการกลุ่มสยามเฆมีมีความฝันอยู่สิ่งหนึ่งที่เขารอมานานเกือบ
10 ปีเต็มและต้องการทำให้สำเร็จ คือ การสร้างท่าเรื่อน้ำลึกที่สีชัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
ขสมก. "จอดป้านเถอะคนกรุงเทพฯ จะลง
มีข้อเสนอแนะทางแก้ไขปัญหาที่เน้นการปรับปรุงที่ "ฐานรากของขสมก.
จากคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ไม่ต่ำกว่า 20 ชุด ไม่รวมที่ปรึกษารายบุคคลและนักวิชาการอีกมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)