"เมื่อเวียดนามเปิดตลาดชิปปิ้ง"
"หลังลงนามเปิดความสัมพันธ์ทางธุรกิจเดินเรือระหว่างกัน สิงคโปร์และเวียดนามมีปริมาณธุรกิจเดินเรือเพิ่มขึ้นถึง
2 เท่าตัว"
ธุรกิจชิปปิ้งในเวียดนามกำลังอยู่ในช่วงปฏิวัติจากเมื่อ 4-5 ปีก่อนที่เป็นการขนส่งทางเรือธรรมดาๆ
มาเป็นธุรกิจคอนเทนเนอร์ที่มีการจัดส่งสินค้าจำนวนมากอย่างเป็นระบบในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"เปิดเสรีรถแท็กซี่ ยุติระบบเจ็กดาวน์ลาวผ่อน?!"
วันนี้ป้ายแท็กซี่ราคาเท่าไร? จากนโยบายแท็กซี่เสรี ราคาป้ายเหลืองของรถแท็กซี่ที่เคยปั่นราคาซื้อขายกันด้วยราคาไม่ต่ำกว่าครึ่งล้าน ก็มีอันหล่นวูบลงเหว เพราะเพียงแค่เสียค่าธรรมเนียมในการกรอกแบบฟอร์ม 5 บาท และใช้เวลารอคอยขั้นตอนของกรมการขนส่งทางบกในการพิจารณาคำร้องและตรวจสอบสภาพรถแท็กซี่อีก 90 วัน ฝันของคนธรรมดาคนหนึ่งก็เป็นจริงได้…ถ้ามีเงิน!
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
"กฎหมายเดินเรือยังล้าหลัง"
เมื่อเดือนสองเดือนที่ผ่านมา ได้มีเรือบรรทุกสารเคมีอันตรายขนาดใหญ่ ชื่อ
นวคุณ 4 ซึ่งบรรทุกสารเคมีประเภทไวนิล คลอไรด์ ไมโนเมอร์ ได้เกิดอุบัติเหตุล่มลงที่ปากอ่าวร่องแม่น้ำเจ้าพระยา
ทำให้สารเคมีรั่วไหลออกมาเป็นอันตรายแก่ประชาชนและสิ่งแวดล้อม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
"720 ไร่ ขุมทองลาวาลิน"
โครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนส่วนที่ 1 ขั้นที่ 1 ในกรุงเทพฯ ของลาวาลินที่ยืดเยื้อกันมานานถึง
3 ปี ในที่สุดก็วิ่งฝ่าเส้นชัยไปได้ถึงแม้จะไม่ค่อยราบรื่นนักก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"โครงการรถไฟฟ้า กทม. ยืดเยื้อ ธนายงเร่งสัญญาหวั่นพิษการเมือง"
ข่าวการลาออกจากตำแหน่งผู้ว่าฯ กทม. ของจำลอง ศรีเมืองเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งในนามหัวหน้าพรรคพลังธรรมเมื่อเร็ว
ๆ นี้ถ้าวิเคราะห์ผลกระทบในเชิงธุรกิจเกี่ยวกับโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร
นับว่าเป็นเรื่องราวที่ไม่ธรรมดา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
นงลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์ ดร.หญิงคนแรกของไทยที่จบทางด้านดาวเทียม
ผู้หญิงคนนี้อายุเพียง 32 ปี แต่ความรู้ความสามารถบวกกับประสบการณ์ที่ผ่านมาตลอดระยะเวลา
10 ปีทำให้เธอได้รับการทาบทามจากผู้บริหารของกลุ่มชินวัตร คอมพิวเตอร์ให้มารับผิดชอบงานในโครงการดาวเทียมซึ่งมีมูลค่าการลงทุนสูงถึง
5,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
อนุศักดิ์ อินทรภูวศักดิ์ ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการโฮปเวลล์
อนุศักดิ์ มีสายสัมพันธ์ทางธุรกิจที่เชื่อมโยงกับกอร์ดอนหวู่ (GORDON WU)
นักธุรกิจใหญ่ชาวฮ่องกงผู้เป็นเจ้าของโครงการสร้างทางรถไฟยกระดับที่ชื่อว่า
"RAMTUFS" (RAILWAY MASS TRANSIT COMMUNITY TRAIN & URBAN
FREEWAY SYSTEM) ของโฮปเวลล์มูลค่าไม่ต่ำกว่าแปดหมื่นล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
เชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ข้อต่อชินวัตรกับเอทีแอนด์ที
เชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ เพิ่งจะมาร่วมงานกับกลุ่มชินวัตรเมื่อต้นปีนี้ ในตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการของกลุ่ม รับผิดชอบงานด้านการตลาดและการขายอุปกรณ์ด้านโทรคมนาคม เป็นกรรมการผู้จัดการของบริษัทเอที แอนด์ ที ไดเร็คทอรี่ส์ เจ้าของสัมปทานสมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองซึ่งชินวัตรเพิ่งเข้าไปซื้อกิจการมาเมื่อเดือนที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
ปลดหนี้ ขสมก. - ต่อลมหายใจ ปตท.
ภายใต้ภาพที่ดูเหมือนยิ่งใหญ่และมั่นคงของ ปตท.นั้นกลับมีปัญหาการบริหารเงินสดจน
ศิรินทร์ นิมมานเหมินท์ ต้องเปิดเครดิตไลน์เพิ่มขึ้นจาก 4.3 พันล้านบาทเป็น
6.9 พันล้านบาท เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับปัญหาสภาพคล่องทางการเงินที่อาจจะวิกฤตในช่วงต่อไปซึ่งเคยคาดการณ์เอาไว้แล้วตั้งแต่ปี
2533
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
บริษัทไทยเดินเรือทะเล ถึงเวลาปลดระวางได้แล้ว
ครั้งหนึ่งเมื่อปี 2483 รัฐวิสาหกิจประเภทไม่ผูกขาดที่มีชื่อว่า "บริษัทไทยเดินเรือทะเล" หรือ "บทด." สังกัดกระทรวงคมนาคมที่รัฐบาลถือหุ้นร้อยเปอร์เซ็นต์ได้ชื่อว่าเป็นสายการเดินเรือแห่งแรกของไทย ได้รับสิทธิและประโยชน์ในการขนส่งทะเลเกี่ยวกับสินค้าของทางการเช่น การขนอาวุธยุทโธปกรณ์ให้กองทัพไทย ใบยาสูบ เครื่องจักร
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)