ปิดฉากพันธมิตรเทลสตาร์-สามารถ งานนี้ฉัตรชัย บุนนาคไม่เกี่ยว?
กรณีการสิ้นสุดสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสามารถและบริษัทเทลสตาร์ ที่มีมายาวนานกว่า
7 ปี ด้วยการที่กลุ่มสามารถซื้อหุ้นจำนวน 1,400,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 160
บาท ( มูลค่าตราไว้หุ้นละ 100 บาท ) เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 224 บาท หรือคิดเป็นสัดส่วน
40% จากบริษัทเทลสตาร์ ที่ถืออยู่ในสามารถเทลคอมกลับคืนมาทั้งหมด ส่งผลให้บริษัทสามารถคอร์ปอเรชั่น
จำกัด ถือหุ้นในบริษัทสามารถเทลคอมรวมเป็น 85% ของทุนจดทะเบียน 350 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"แท็กซี่ยุคเสรีวัดกันที่สายป่าน"
"กำแพงโควต้าแท็กซี่เก่าพังลงทันที หลังรัฐบาลเปิดให้เพิ่มจำนวนแท็กซี่ได้อย่างเสรี เล่นเอาเถ้าแก่นักปั่นป้ายต้องหยุดชะงัก....! ป้ายที่เคยมีราคากว่าครึ่งล้านวันนี้ไม่มีคนต้องการซื้อแท็กซี่มิเตอร์หลากสีสันบนท้องถนน กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นจนกลายเป็นภาพลักษณ์ใหม่สำหรับวงการแท็กซี่ไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"หลายแง่หลายมุม ลูกเล่น "แท็กซี่มิเตอร์"
"สุชาดา" ถูกหัวหน้าตำหนิ...เพราะมาทำงานสายติดกัน 3 วัน เลยทำให้เธออารมณ์เสียบ่นพึมพำ...!
อยู่กับเพื่อนสนิท "เป็นเพราะเจ้าแท็กซี่มิเตอร์ทีเดียว...ที่ต้องมาทำงานสาย" เธอมีความตั้งใจอย่างแรงกล้าที่จะอาศัยแท็กซี่มิเตอร์มาทำงานเพราะสามีเธอติดราชการที่ต่างจังหวัด มาส่งเธอไม่ได้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"ความเสี่ยงของดอนเมืองโทลล์เวย์"
"ดอนเมืองโทลล์เวย์" นับเป็นโครงการแก้ปัญหาจราจรที่ผ่านมรสุมมามากพอสมควร
นับแต่ปัญหาที่รัฐบาลอานันท์เสนอทางเลือกไม่ให้ทุบสะพานลอย 2 แห่งแต่โครงการหมื่นล้านนี้ก็ยังมีปัญหาความเสี่ยงหลายอย่าง พวกเขาจะแก้ปัญหากับความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างไร ???"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
"สมพงษ์ ฝึกการค้า เปลี่ยนจากท่าน้ำมาวิ่งรถไมโครบัส"
จากอดีตเจ้าของ "บริษัทบางกอกวอเตอร์รีซอส" โครงการจัดหาน้ำดิบเพื่อโรงงานอุตสาหกรรมเขตสมุทรปราการวันนี้ "สมพงษ์ ฝึกการค้า" ได้กลายเป็นเจ้าของ "บริษัทบางกอก ไมโครบัส"
ผู้รับสัมปทาน 10 ปีทำธุรกิจวิ่งรถโดยสารปรับอากาศขนาดเล็กจำนวน 400 คัน บนเส้นทาง 10 สายในเขตธุรกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)
"กำไรงามยังรอข้างหน้า"
ธุรกิจขนส่งสินค้าทางเรือหรือชิปปิ้งในเส้นทางระหว่างสิงคโปร์กับโฮจิมินห์
ซิตี ในปัจจุบันนั้นหาใช่ธุรกิจทำกำไรงามอย่างในอดีตอีกแล้ว เนื่องจากมีการแข่งขันกันตัดราคาอย่างหนักหน่วง
ทว่า ผู้ประกอบการอีกจำนวนไม่น้อยก็ยังดาหน้าเข้าสู่ธุรกิจแขนงนี้ ด้วยหวังว่าสักวันหนึ่งแสงเรืองรอง
ณ ขอบฟ้า ธุรกิจจะปรากฏอีกครั้งที่ตลาดอินโดจีน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"ทำธุรกิจชิปปิ้งต้องมีศิลปะ"
เลอ ได ชุค ชาวเวียดนามวัย 46 ปี เป็นผู้หนึ่งที่เคี่ยวกรำอยู่กับธุรกิจชิปปิ้งในโฮจิมินห์
ซิตี มาอย่างยาวนาน ตลอดชีวิตของเขาต้องพานพบกับการทดสอบความแข็งแกร่งทั้งในด้านบุคลิกลักษณะและความแน่วแน่ของจิตใจ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"การรอคอยและการติดสนบนในพนมเปญ"
กัปตันเซซิลิโอ ประจำเรือ "ฮานา" ไม่สู้จะมีความสุขมากนัก เพราะเรือของเขาจอดเทียบอยู่ที่ท่าเรือพนมเปญตั้งแต่เวลา 10.30 น. แต่เมื่อล่วงถึง 11.00 น. เขาก็ยังไม่เห็นวี่แววว่าเจ้าหน้าที่ตรวจสอบคาร์โก้จะมาเมื่อใด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"นาคา ชิปปิ้ง ไลน์ โค"
ตั้งแต่สิ้นปีที่แล้วนาคา ชิปปิ้ง ไลน์ โค ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเทพฯ
ได้เปิดเส้นทางเดินเรือสินค้าระหว่างกรุงเทพฯ กับพนมเปญ โดยใช้เรือ 2 ลำ
ออกตลอดเวลา และเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาก็เพิ่มเส้นทางไปสีหนุวิลล์ (กัมปงโสม)
ด้วย โดยเรือที่ใช้ผลิตในนอร์เวย์ส่วนลูกเรือนั้นเป็นชาวไทยและพม่า
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)