ท่าเรือโตเกียว รัฐสร้างเอกชนเช่า
กระบวนการทำมาค้าขายแล้ว ญี่ปุ่นถือว่าเป็นยอดไม่แพ้ใคร ที่รุ่งเรืองอยู่ได้ทุกวันนี้ก็เพราะเรื่องขายเก่งนี่เป็นส่วนหนึ่ง
และของที่ขายก็เป็นของดีอีกส่วนหนึ่งด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
ปีที่ 60 ของโงวฮก รุ่นที่ 2 กับการเปลี่ยนแปลง
ธุรกิจพาณิชย์นาวีบ้านเราคึกคักเป็นพิเศษในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และยังมีแนวโน้มว่าจะดีต่อไป
เหตุผลหนึ่งเกิดมาจากนโยบายส่งเสริมการส่งออกอย่างจริงจังของรัฐ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2531)
หญิงเหล็กพันล้านคนใหม่ "ดร.ยุพา อุดมศักดิ์" ชีวิตผกผัน 3 สังเวียน
ถ้าไม่มี "ยุบสภา" เมื่อปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมา ดร.ยุพา อุดมศักดิ์ คงไม่ตัดสินใจกระโจนขึ้นสังเวียนธุรกิจเต็มตัวเช่นนี้
ทั้งยังหันหลังให้เวทีการเมืองที่ตนเองเคยผูกขาดตำแหน่ง ส.ส. เมืองพิจิตรมาแล้ว 3 สมัย ทั้งที่หลายคนบอกว่า ถ้าเธอลงเลือกตั้งสมัยที่ 4 แล้วพลาดไปก็คงเป็นการพลิกล็อควินาศสันตะโรครั้งใหญ่เลยทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
การเมืองเรื่องปั้นจั่นท่าเรือ ผลประโยชน์ใคร...ใครก็หวง
ยุทธจักรริมน้ำย่านขนถ่ายสินค้าเข้า-ออกวันนี้กำลังร้อนระอุ ภายหลัง "เจ้าพ่อ" ริมน้ำ-การท่าเรือแห่งประเทศไทยประกาศเอกสิทธิหน้าท่าเก็บค่า "ต๋ง" การยกตู้คอนเทนเนอร์สินค้าเข้า-ออก ทั้ง ๆ ที่กว่าจะติดตั้งเครนเป็นของการท่าเรือเองเสร็จก็อีกปีกว่าโน่น ฝ่ายที่กำลังสบาย ๆ น่าจะเป็นบางกอกเครนเน็จ ที่ได้ทำหน้าที่แทนการท่าเรือช่วงปีกว่า ๆ นี้ แต่จะสบาย ๆ จริง ๆ หรือ?
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
สำหรับคนเมาคลื่นที่ชอบเล่นเรือ
มีเรื่องเดียวเท่านั้นที่น่ากลัวสำหรับนักเล่นเรือในวันพักผ่อนสุดสัปดาห์ คือทะเลที่เต็มไปด้วยคลื่น ขณะนี้ SWATCH OCEANSYSTEME RESEARCH LTD. บริษัทต่อเรือแห่งหนึ่งในซานดิเอโกกำลังเสนอขายเรือยอร์ชชนิดรับประกันอาการเมาคลื่น โดยอ้างว่าเรือชนิดนี้มีความหนักแน่นมั่นคงพอ ๆ กับหินผา ที่แม้แต่คนไม่เคยเห็นทะเลถือแก้วยินโทนิคอยู่ในมือในเวลาคลื่นลมแรงที่สุด ก็จะไม่มีน้ำกระเซ็นออกมาเลยสักหยด
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
"อุย บี-ธนบดีมาเลเซีย คนไทยไม่ทิ้งแผ่นดิน!!??"
ความสำเร็จของคนจีนโพ้นทะเลในเมืองไทยเป็นรายการตบหน้าเจ้าของประเทศที่มีให้ศึกษากันมากมาย
แต่ยังมีคนไทยคนหนึ่งซึ่งต้องจากบ้านเกิดเมืองนอนไปอย่างเดียวดาย เขามีความเจ็บช้ำเป็นกำลังใจ
มีความหวังที่ขอไปตายเอาดาบหน้า แล้ววันนี้ความสำเร็จท่วมท้นก็เป็นของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
พลิกปูม UNITHAI หนูผู้อาจหาญเด็ดหนวดแมว
สภาพธุรกิจพาณิชย์นาวีไทยประกอบไปด้วยกองเรือขนาดเล็ก ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านการดำเนินความช่วยเหลือใด
ๆ ของรัฐบาลที่มีต่อเจ้าของเรือไทยนั้นมีน้อยมากและแต่ละขบวนการต้องมีการผ่านขั้นตอนที่ยุ่งยากและล่าช้า
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2529)
ใครเป็นใครใน...ยูนิไทย?
มร.ริชาร์ดสัน หรือ สันต์ สันติสัมฤทธิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัทยูนิไทยปี 2522-2528 ชาวจีนฮ่องกงเชื้อสายเซี่ยงไฮ้ เกิดบนแผ่นดินจีนได้หนีมายังฮ่องกงในช่วงที่มีการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นเพื่อนรุ่นเดียวกับ มร. Farnk Tsao
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2529)
เรือเดินทะเลข้ามชาติหายทั้งลำ ที่กรุงเทพฯ เงื่อนงำที่ทำกันเป็นขบวนการ
"ดีลี่" เป็นเรือเดินทะเลลำไม่ใช่เล็ก ๆ เข้ามาจอดเทียบท่าเพื่อเตรียมขนข้าวโพดไทยส่งไปให้ โรงเบียร์ ของประธานาธิบดีมากอส ที่ฟิลิปปินส์ มีปัญหาที่ทำให้เรือออกจากท่าไม่ได้ เพราะมีบริษัท 2 บริษัท อ้างสิทธิ์การเป็นเจ้าของเรือ เรื่องทำท่าจะยุ่ง ครั้นแล้วเรือ "ดีลี่"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)