Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ203  
Positioning28  
ผู้จัดการรายวัน206  
ผู้จัดการรายสัปดาห์35  
PR News570  
Total 1007  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Telecommunications

Subcategories
Mobile Phone
Telephone


นิตยสารผู้จัดการ (171 - 180 of 203 items)
เจาะกลยุทธ์การล้อบบี้ของ " เถ้าแก่กก" กลุ่มซีพีได้ชื่อว่า เป็นธุรกิจขนาดใหญ่ที่ติดอันดับท้อปเทนของเอเชีย การดำเนินการของธรุกิจขนาดนี้มีวิธีการประสม ประสานหลายแบบ ที่สำคัญและสามารถยกเป็นหนึ่งในกรณีศึกษาของโลกได้ คือการปรับเปลี่ยนจากการบริหารธุรกิจครอบครัวมาสู่ระบบสมัยใหม่(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ดาวเทียมชินวัตร : ต้องเสียก่อนจึงจะได้ ในที่สุดความหวังที่ประเทศไทยจะมีดาวเทียมเป็นของตัวเองก็เป็นความจริงขึ้นมา นับเป็นโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานโครงการแรกที่ลงทุนและดำเนินการโดยภาคเอกชน และเป็นโครงการแรกอีกเช่นกันที่คลอดออกมาอย่างไม่ยากเย็นนักในยุค รสช.(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
จังหวะก้าวของยูคอมจากซัพพลายเออร์สู่เจ้าของสัมปทาน ธุรกิจครอบครัวที่ใหญ่และรวยเงียบ ๆ สไตล์คนจีนเฉกเช่น "เบญจรงคกุล" แห่งบริษัทยูไนเต็ด คอมมูนิเคชั่น อินดัสทรีหรือ "ยูคอม" เป็นที่รู้จักกันในตลาดการค้าอุปกรณ์โทรคมนาคมมาไม่ต่ำกว่า 30 ปี(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ใครเป็นใครในตระกูล "เบญจรงคกุล" สุจินต์ เบญจรงคกุล สร้างบริษัทยูในเต็ดคอมมูนิเคชั่น อินดัสทรี (ยูคอม) ขึ้นมาตั้งแต่ยังหนุ่มอายุ 28 ปี โดยมีกาญจนาที่มีอายุมากว่า เขาหนึ่งปีเป็นคู่ทุกข์คู่ยาก ต่อมากาญจนาคนนี้ก็มีบทบาทสืบต่อจากสุจินต์ ที่ได้เสียชีวิตไปเมื่อ 10 ที่แล้ว(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ดูหุ้นที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจโทรคมนาคมให้ดี ตลาดหุ้นไทยในระยะ 1 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงที่ได้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ทั้งจากภายนอก และภายในประเทศมาแล้ว ก็ได้กลับมามีชีวิตชีวาขึ้นใหม่อีกครั้ง การซื้อขายเริ่มเพิ่มความคึกคัก มูลค่าพุ่งสูงขึ้นเฉลี่ยวันละ 3-4,000 ล้านบาทา(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
"รัฐควรลดการผูกขาดในธุรกิจโทรคมนาคมลงและ ถ้าจะเปิดเสรีควรมีระบบ" ธุรกิจด้านโทรคมนาคมเป็นธุรกิจที่ผูกขาดโดยรัฐบาลมาโดยตลอด การที่มีการกล่าวถึงความเป็นไปได้ในการปล่อยเสรีให้เอกชนรายใดก็ได้ เข้ามาลงทุนในธุรกิจนี้ มีสิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงนั่นก็คือผลประโยชน์ของรัฐ นั่นย่อมหมายถึงผลประโยชน์ของประชาชนที่อาจสูญเสีย ไปด้วยในกรณีนี้(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
เมื่อคีรีฝ่าขวากหนามในธุรกิจโทรคมนาคม และแล้วมันก็ถึงเวลาหนึ่งที่คีรีเหลือทางเลือกเพียงทางเดียว คือการสู้จนถึงนาทีสุดท้าย เมื่อเขาเห็นว่าการชนะประมูลของชินวัตร ในโครงการดาวเทียมสื่อสารมูลค่าสี่พันล้านบาท เป็นเรื่อง ไม่ยุติธรรม!!!(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
"ฮัทชิสัน เพจโฟน" ก้าวแรกก่อนลงลึกในธุรกิจเทเลคอม สัญญาสัมปทานทำธุรกิจขายและบริการวิทยุติดตามตัว "เพจโฟน" 15 ปีที่ทางผู้บริหารบริษัท ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) ได้ทำไว้กับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เพิ่งจะเริ่มต้นนับหนึ่งในวันเปิดตัวขายอย่างไม่เป็นทางการเมื่อ 21 ธันวาคมจนกระทั่งต้นมกราคมปีนี้ขายไปได้ไม่ต่ำกว่าพันเครื่อง(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
สามารถแซทคอม ธุรกิจมาหากินบนท้องฟ้านอกเหนือจาการบินแล้ว ก็มีสื่อสารโทรคมนาคมที่ดูจะมีอนาคต เหตุก็เพราะว่ามันต้องให้ความรู้ทางเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์ ที่ซื้อได้ด้วยราคาแพง การยิงดาวเทียมสื่อสารแต่ละลูกต้องใช้เงินทุนประมาณ 4,000-5,000 ล้านบาท(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2533)
ไทยแสทคืนชีพ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2532 มนตรี พงษ์พานิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเสนอเรื่องให้ไทยแสทเป็นผู้ลงทุนในโครงการดาวเทียมสื่อสาร ให้คณะรัฐตรีพิจารณาอนุมัติ(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)

Page: ..11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us