“โออิชิ” ยึดตู้แช่ ข้ามสายพันธุ์ ข้ามตลาด
ประมาณกันว่าคนไทยทั้งประเทศ 60 ล้านคน เป็นลูกค้า "โออิชิ" มากกว่า 30 ล้านคน เป็นลูกค้าในทุกกลุ่มอายุตั้งแต่เด็ก วัยรุ่น คนหนุ่มสาว ผู้ใหญ่ และเจาะเข้าถึงครอบครัว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2555)
อันดับ 3 ตัน ภาสกรนที
ถ้าวงการเพลงลูกทุ่งให้นิยามภาพลักษณ์ของไมค์ ภิรมย์พร เป็นตัวแทนของกรรมกรผู้ใช้แรงงาน ในวงการธุรกิจ โดยเฉพาะในกลุ่ม SMEs น่าจะมองภาพลักษณ์ของตัน ภาสกรนที ว่าเป็นตัวแทนของผู้ประกอบการที่มีความพยายามฟันฝ่าอุปสรรค เคยล้มลุกคลุกคลาน แต่มาประสบกับความสำเร็จในภายหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2552)
ผมยังเป็นเจ้าของโออิชิ
ถ้าวงจรของการเป็นเจ้าของกิจการ ตัน ภาสกรนที ก็สอบผ่านไปเรียบร้อยแล้ว จากประสบการณ์ทำงานหลากหลาย และขึ้นจุดสูงสุดเมื่อชาเขียวโออิชิกลายเป็นกระแสของสังคมช่วงหนึ่ง จนกลายเป็นปรากฏการณ์ชาเขียวฟีเวอร์
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
ตัน ภาสกรนที กับการต่อสู้ครั้งสุดท้าย?
ชีวิตของผู้ชายที่ชื่อ ตัน ภาสกรนที เขามีนิยามเกี่ยวกับตัวเองที่ชัดเจน นั่นก็คือ "ชีวิตนี้ไม่มีทางตัน" เพราะเขาไม่คิดว่าปัญหา อุปสรรค จะเป็นเครื่องกีดขวางหรือทำให้เขาไม่สามารถเดินไปต่อได้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
CRM แบบ ตัน ภาสกรนที
"ขอเชิญพบกับตัน ภาสกรนที เศรษฐี พันล้าน เจ้าของโออิชิ กรุ๊ป" ทันทีที่สิ้นเสียงประกาศของพิธีกร เสียงปรบมือก็ดังขึ้น สายตาทุกคู่จับตามองร่างหนึ่งที่ก้าวเดินขึ้นเวทีอย่างกระฉับกระเฉง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
สไปเดอร์มาร์เก็ตติ้ง
จุดพลิกผันของชีวิตครั้งสำคัญของตัน ภาสกรนที เริ่มต้นเมื่อวันที่ 9 เดือน 9 ปี 2542 เมื่อเขาเปิดบริการร้านอาหารบุฟเฟต์ญี่ปุ่นชื่อโออิชิ เป็นแห่งแรกในเมืองไทย ภายใต้คอนเซ็ปต์ "All you can eat but pay What you have left"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
ตัน ภาสกรนที เป็นอย่างเขาไม่ยาก?
จากวิถีชีวิตที่ธรรมดามาตั้งแต่เกิด วันนี้ ตัน ภาสกรนที ได้รับการคัดเลือกอย่างเป็นเอกฉันท์จากผู้อ่านนิตยสาร "ผู้จัดการ" ให้เป็น Role Model อันดับที่ 2 ในสังคมธุรกิจไทย มีคะแนนเป็นรองเพียงเล็กน้อยจากเจริญ สิริวัฒนภักดี ที่เพิ่งขึ้นเป็นอันดับ 1 ในปีนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
สงครามชาเขียว ทิปโก้ยังเป็นรอง
สงครามชาพร้อมดื่มมูลค่า 3,500 ล้านบาท ระอุในหน้าร้อนนี้ ยังมียูนิฟเป็นแบรนด์นำชิงดำกับโออิชิ ที่มาแรงแซงหน้าทิปโก้ไปด้วยกลยุทธ์ปูพรมทุกช่องทางจำหน่ายจาก การเปิดเผยของโออิชิ อ้างว่ายอดขายสูงถึงเดือนละ 7 ล้านขวด จนทำให้ต้องเพิ่มไลน์การผลิตด้วยการอัดฉีดเงินลงทุนอีก 30 ล้านบาท ทำให้มีกำลังผลิตรวม 250,000 ลังต่อเดือน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
"โออิชิ" อร่อยแบบง่ายๆ กับอาหารญี่ปุ่น
"เมื่อก่อนใครจะทานอาหารญี่ปุ่นต้องไปตามโรงแรม หรือร้านอาหารญี่ปุ่นที่มีอาหารให้เลือกตามเมนูไม่กี่อย่างอาจจะเป็นบุฟเฟต์เหมือนกันแต่จะไม่เปิดทั้งวัน
หรือเปิดเพียงบางมื้อเท่านั้น แล้วราคาค่อนข้างแพงมากเวลาอยากลองเมนูใหม่ ถึงไม่อร่อยก็ต้องทานให้หมดเพราะเสียดาย
ราคาต่อจานก็ค่อนข้างสูง" ฐิติมาเล่าถึงสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เธอตัดสินใจร่วมหุ้นกับเพื่อนเปิดร้านนี้ขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)