ปลายปี 2525 เมื่อมรสุมเริ่มตั้งเค้า
ก่อนที่จดหมายธนาคารชาติลงวันที่ 9 ธันวาคม 2525 จะส่งมาขอแสดงความนับถือกับธนาคารนครหลวงไทยนั้น ทางด้านมงคล กาญจนพาสน์ ก็ตัดสินใจถอนตัวออกจากธนาคารนครหลวงอย่างแน่นอน และก็ไม่มีใครอื่นนอกจากดิเรก มหาดำรงค์กุล ที่มงคล กาญจนพาสน์ จะเสนอขายหุ้นให้ก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ซิตี้แลนด์ รับซื้อแลนด์หลุดจากแบงก์
ตามหลักการทำงานของธนาคารทั่วๆ ไปนั้น ทรัพย์สินที่ถูกยึดมาเมื่อถึงระยะหนึ่งก็สามารถจะขายทิ้งออกไปได้ ธนาคารนครหลวงไทยก็เป็นธนาคารหนึ่งที่ในปีสองปีที่ผ่านมานี้ได้ยึดทรัพย์คือที่ดินเข้ามาเป็นจำนวนมากและก็ได้มีการจำหน่ายออกไป ในการจำหน่ายออกไปนั้นก็ต้องมีคนเข้ามาประมูลซื้อกัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
“ไอ้ตา-มึงไม่เคยทำอะไรให้กูสบายใจเลย...”
“ไอ้ตา (ชื่อภาษาไหหลำของชัยโรจน์แปลว่าที่สาม) มึงไม่เห็นเคยทำอะไรให้กูสบายใจสักอย่าง มึงมีแต่หาเรื่องให้กูทั้งนั้น กูเจ็บใจ วันหนึ่งๆ กูนอนไม่หลับก็เพราะมึง มึงมาอยู่แบงก์อย่างนี้ ทำกับกูอย่างนี้ กูไม่อยากได้แบงก์นี้ แต่มึงก็จะเอา จะเอา มึงไม่เคยทำอะไรสักอย่างให้กูสบายใจ”
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
2528 ปีแห่งการแตกหัก พอประดาบก็เลือดเดือด
ตลอดระยะเวลาของปี 2527 ความขัดแย้งในด้านวิธีการทำงาน ตลอดจนหลักการและความถูกต้องระหว่างบุญชู โรจนเสถียร กับกลุ่มมหาดำรงค์กุลมีมาตลอด หากแต่มหาดำรงค์กุลมักจะเป็นผู้ให้ข่าวกับสื่อมวลชนอยู่เสมอว่าทุกฝ่ายยังชื่นมื่นกันดี การให้ข่าวนั้นดิลก มหาดำรงค์กุล มักจะเป็นคนให้ข่าว และบางครั้งการให้สัมภาษณ์เมื่อปี 2527 เมื่อมาอ่านดูอีกครั้งในวันนี้ก็สามารถพบได้ว่า ดิลกพูดจาขัดแย้งกับสิ่งที่ตัวเองเคยพูดเอาไว้เมื่อปีที่แล้วอย่างขาวเป็นดำ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
คนแซ่ก่าวจากไหหลำ มาเป็นมหาดำรงค์กุลในสยาม
มหาดำรงค์กุลเป็นตระกูลที่มีสมาชิกเด่นๆ เป็นที่รู้จักกันทั่วไปอยู่ 3 คน คือ พี่ใหญ่-ดิเรก พี่กลาง-ดิลก และน้องเล็ก-ชัยโรจน์ ดิเรก มหาดำรงค์กุล คือ ก่าว โล พก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)