ธนาคารนครธน
ปี 2476 ธนาคารหวั่ง หลีจั่น ตั้งขึ้นเป็นธนาคารแห่งที่ 2 ของไทย (แห่งแรกคือ
สยามกัมมาจล หรือไทยพาณิชย์ปัจจุบัน)
ปี 2516 สุวิทย์ หวั่งหลี นำ CITIBANK เข้ามาถือหุ้น 40% ในธนาคาร เพื่อต้องการ
BANKING KNOW-HOW ซึ่งถือเป็นการตัดสินใจที่สำคัญ มาก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
"หวั่งหลีสูญเสีย "สุวิทย์" จุดเปลี่ยนแปลงสำคัญใน 123 ปี"
นับตั้งแต่ปี 2414 จวบจนถึงปัจจุบัน 123 ปีแห่งตำนานเก่าแก่ของคนในตระกูลหวั่งหลีได้เริ่มต้นเมื่อ
"ตันฉื่อฮ้วง" บรรพบุรุษต้นตระกูลหวั่งหลีคนแรก ได้เดินทางมาติดต่อค้าขายและลงหลักปักฐานในเมืองไทย
กิจการส่งออก-นำเข้า และโรงสีที่ใหญ่ที่สุดได้กลายเป็นฐานเงินทุนที่สั่งสมให้คนรุ่นหลังในครอบครัวใหญ่เช่นนี้ได้ดำรง
รักษาสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจไว้อย่างเป็นปึกแผ่นมั่นคง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
ยามว่างกีฬาคนเหนือโลก
หากฉันบิน บินไปได้ดั่งนก
ฉันจะบิน บินไปในนภา
หากฉันลอยล่องลมเหนือฟากฟ้า
ฉันจะมองลงมายังพื้นดิน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2530)
กลุ่มพูนผล "แรงขับดัน" ในอาณาจักรหวั่งหลี
ต้องยอมรับว่าบุคคลในกลุ่มพูนผล มีบทบาทในกลุ่มหวั่งหลีมากทีเดียว พูนผลที่เป็นผู้ช่วยทุกคนคือหวั่งหลี นอกจากภาระหน้าที่อันหนักอึ้งแล้ว คนโตของเขาต้องเป็นผู้นำหวั่งหลีในเมืองไทยด้วย หากพิจารณาตามนี้แล้ว มีเพียง
3 คนเท่านั้น (ที่เป็นผู้หญิง) ในรุ่นแรกในพูนผลไม่ถือว่าเป็นหวั่งหลี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2529)
สาธรธานี อนุสาวรีย์ "หวั่งหลี" ยุคใหม่
การลงทุนระดับ 300 ล้าน สร้างออฟฟิศคอนโดมิเนียมกลางกรุง มิใช่เรื่องต้องตัดสินใจยากเย็นอะไร
สำหรับนักลงทุนในปี 2526 - 7 อันเป็นช่วงธุรกิจเช่นว่านี้บูมอย่างมาก แต่สำหรับ
"หวั่งหลี" แล้ว มันเป็นการตัดสินใจครั้งสำคัญของตระกูลทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2529)