เสมาฟ้าครามนคร เมื่อเถ้าแก่เพ้อฝันชาวบ้านรับกรรม
มืออาชีพที่หากินกับชาวบ้าน แทรกเข้าช่องว่างของการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ฯลฯ
เกิดขึ้นทุกยุคทุกสมัยเมื่อเงื่อนไขสุกงอม กรณีเสมาฟ้าครามฯ กับพรชัย สิงหาเสมานนท์
เกิดขึ้นแล้ว สร้างปัญหาให้กับวงการธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจบ้านจัดสรรและคงจะเกิดขึ้นอีก
"ผู้จัดการ" พูดถึงเรื่องนี้ในแง่มุมที่แหวกอกไป แนวความคิด การบริหารงานเชิงธุรกิจตามสไตล์ของเราเท่านั้น!
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
ศาลยกฟ้องคดี ประพันธ์ พุกเจริญ-ธนาคารทหารไทย
ข้อพิพาทระหว่างอดีตผู้บริหารของธนาคารทหารไทยที่ชื่อประพันธ์ พุกเจริญ
กับธนาคารทหารไทยนั้นเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2527 ภายหลังการย้ายประพันธ์จากตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบไปอยู่ในตำแหน่งผู้ตรวจการธนาคารที่ประพันธ์มองว่าเป็นการจับแขวน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2529)
อนาคตอุตสาหกรรมน้ำตาล ปล่อยให้ตาย ก็ไม่ได้ จะเลี้ยงก็ยากแสนเข็ญ
ขณะที่ "ผู้จัดการ" ฉบับนี้ออกวางตลาด การกำหนดราคาอ้อยเบื้องต้นโดยสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล (กอน.) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนชาวไร่อ้อย ตัวแทนโรงงานน้ำตาล ผู้ส่งออก และตัวแทนจากภาครัฐบาล คงสามารถตกลงกันได้แล้วว่าราคาควรจะเป็นเท่าไหร่ในภาคฤดูการผลิตน้ำตาล 2528/2529
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พลาด" แต่ไม่ผิด
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พลาด" จริง พลาดเพราะทุ่มทุนสุดตัวกู้หนี้ยืมสินขยายกิจการโรงงานน้ำตาลในกลุ่ม ในช่วงที่ยังไม่มีสัญญาณใด ๆ บอกว่าราคาน้ำตาลในตลาดโลกจะเขยิบสูงขึ้น นอกจากความหวังในวงจรราคาน้ำตาล
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
ธนาคารทหารไทยยุคก้าวสู่ธนาคารพาณิชย์เต็มตัว
เพียง 5 เดือนหลังจากประยูร จินดาประดิษฐ์ ลาออกจากธนาคารทหารไทย ธนาคารพาณิชย์แห่งนี้
ก็ได้รับรองผู้จัดการคนที่ 2 ซึ่งลาออกจากตำแหน่งรองผู้จัดการใหญ่บริษัทเอสโซ่พร้อมกับทีมงานจำนวนหนึ่ง
บุคคลนั้นคือ วิสิษฐ์ ตันสัจจา เพียง 1 เดือน 14 วัน ประเทศไทยก็เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
THE WORKING CHAIRMAN
ถ้าจะถามพลเอกประยุทธ จารุมณี ว่างานที่ทำอยู่ในฐานะเป็นประธานกรรมการธนาคารทหารไทยนั้นชอบงานอะไรมากที่สุด?
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)