TMB เริ่มผูกธุรกิจเข้ากับ TMBAM
ภายนอกอาจดูเหมือนว่า บลจ.ทหารไทย (TMBAM) คงจะทำธุรกิจอย่างโดดเดี่ยวหรืออาจได้รับความช่วยเหลือเพียงน้อยนิดจากธนาคารทหารไทย (TMB) ซึ่งเป็นบริษัทแม่ แต่ความจริงแล้วความสัมพันธ์ของทั้ง 2 นับวันยิ่งเหนียวแน่นเข้มข้นมากขึ้น โดยภาพนี้จะมีให้เห็นเด่นชัด เมื่อบริษัทแม่เตรียมจะก้าวเข้ามาสนับสนุนการทำธุรกิจให้แก่บริษัทลูกแห่งนี้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2549)
ผู้บริหารที่ดูแล 16 สายงานหลัก
ผู้บริหารที่ดูแล 16 สายงานหลัก ภายหลังการควบรวมกิจการระหว่างธนาคารทหารไทย ดีบีเอสไทยทนุ และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2547)
จัดทัพลงตัว
ภายหลังเสร็จสิ้นกระบวนการซื้อหุ้น การควบรวมกิจการกันระหว่างธนาคารทหารไทย ดีบีเอสไทยทนุ และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก็เริ่มมีความคืบหน้าขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องตัวบุคคล
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2547)
ธนาคารทหารไทย ถามหา
ถามหา "อัศวินม้าขาว"กรณี บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย (SCC) ล้มเลิกแผนขายหุ้นเพิ่มทุนในต่างประเทศและหัน
มาระดมทุนในประเทศแทน
ด้วยการออกหุ้นกู้วงเงิน 1.2 หมื่น ล้านบาท ยังเป็นการก้ำกึ่งกันที่จะมองว่าเป็นความล้มเหลวครั้งสำคัญของปูนใหญ่
หรือเป็นการปรับตัวตามสถาน การณ์ได้อย่างรวดเร็วยิ่ง เพราะสภาพคล่องในประเทศมีเหลือเฟือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
ยุทธการสาวไส้…ทนง VS วีรศักดิ์ งานนี้ทหารไทยมีแต่เสียกับเสีย
ปี 2539 ที่ผ่านมาถือว่าเป็นปีที่เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโดยรวมของทั่วโลกย่ำแย่ที่สุดในรอบหลายปี
กล่าวเฉพาะที่ประเทศไทยนั้นถือว่าได้รับผลกระทบมาไม่น้อยทีเดียว แถมมีปัจจัยภายในประเทศช่วยทับถมอีกแรงก็ดูจะไปกันใหญ่ นอกจากวงการอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงแล้ว วงการเงิน-ธนาคารก็ดูจะไม่น้อยหน้าเช่นกันทั้งเรื่องผลประกอบการที่ลดลง,
หนี้เสีย รวมทั้งปัญหาความขัดแย้งและเรื่องภาพพจน์ของผู้บริหารระดับสูงหลายท่านทั้งจากภาครัฐและเอกชน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
แบงก์คุณภาพฝันที่เป็นจริงได้ของ "ธนาคารทหารไทย"
ธนาคารทหารไทยสร้างแผนงาน 9 ปีเพื่อกรุยทางสู่แบงก์คุณภาพ เริ่มจากการสะสางองค์กร
สร้างประสิทธิภาพของคนแล้วค่อยก้าวสู่การแข่งขันเพื่อชิงมาร์เก็ตแชร์ แผนงานผ่านไปแล้วครึ่งทาง
แบงก์ทหารไทยมีคุณภาพตามที่วาดหวังไว้หรือไม่ หรือมีอะไรผิดเพี้ยนไป ?!?
ความมั่นอกมั่นใจของ ดร.ทนง เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามแผนงาน 9 ปี (2536-2544)
ซึ่งเป็นหนทางสู่การเป็นแบงก์คุณภาพ นับถึงปัจจุบัน TMB เดินมาถึงครึ่งทางแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
กว่าจะได้จุดยืน "คุณภาพ"
ยุทธศาสตร์การเป็นแบงก์คุณภาพของธนาคารทหารไทยเกิดขึ้นพร้อมกับการเข้ามาของผู้บริหารใหม่ที่มีนามว่า
ดร.ทะนง พิทยะ อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยสาขาบริหารธุรกิจและเป็นลูกหม้อเก่าของ
TMB มาก่อน เขาก้าวเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ในเดือนตุลาคม ปี
2535 แทน ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ ที่ลาออกไปรับตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลนายชวน
หลีกภัย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
"ทำไม! กองทัพในแบงก์ทหารไทยไม่มีวันแยกจากไปเด็ดขาด"
"แบงก์ทหารไทยกำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤติศรัทธาจากแรงผลักของพฤษทมิฬ นับจาก
พ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบัน แบงก์ทหารไทยเพิ่มทุนไปแล้ว 10 ครั้ง ครั้งสำคัญที่ทำให้สัดส่วนถือหุ้นกองทัพลดลงคือปี
2526
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ศุภชัย พานิชภักดิ์ "ไม่มีใครเข้าใจผม"
"ผมไม่มีทางพูดอะไรเป็นเรื่องบวกได้เลยในช่วงหน้าสิ่วหน้าขวานไม่ว่าอาจารย์วีรศักดิ์จะไปพูดเรื่องเปลี่ยนชื่อ
หรือแบงก์ชาติจะออกมาพูดอะไรก็ตาม เขาจ้องอยู่ทุกฝีก้าว" เจ้าของคำพูดกล่าวด้วยสีหน้าเหนื่อยหน่าย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ด่วนมาก"
ที่ สร. 43166/2499
กระทรวงการคลัง
4 กันยายน 2499
เรื่อง กองทัพบกขอตั้งธนาคาร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)