Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ11  
ผู้จัดการรายวัน1  
Total 12  

Listed Company
Manager Lists
 
People > พันศักดิ์ วิญญรัตน์


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 11 items)
Thailand Creative & Design Center โอเอซิสแห่งปัญญาชนสยาม ตั้งแต่เช้ายันค่ำ พันศักดิ์ วิญญรัตน์ เฝ้ามองปฏิกิริยาของคนที่เดินเข้ามาที่ "ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ" (Thailand Creative & Design Center : TCDC) ซึ่งอยู่บนชั้น 6 ห้างเอ็มโพเรียม(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2549)
Italian Design weak and wide spread "ผมอยากสื่อให้นักออกแบบมางานนี้ เพื่อจะได้สังเคราะห์วิธีคิด เพราะพวกเขาไม่มีสูตรสำเร็จให้ท่านว่าทำอย่างไรแต่เขาจะบอกท่านว่าออกแบบเพราะอะไร ถ้าไม่มีคำว่าเพราะอะไร ท่านจบเลย" เป็นถ้อยคำในวันแถลงข่าวของพันศักดิ์ วิญญรัตน์ ประธาน Thailand Creative & Design Center (TCDC) ซึ่งจะเปิดอย่างเป็นทางการราวเดือนกรกฎาคมนี้(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
ต้นแบบของอุตสาหกรรม ที่มีจุดเริ่มต้นจาก SME ในยุคที่เมืองไทย คำว่า SMEs กำลังเป็นคำที่ฮอตมากอยู่ในขณะนี้ หากย้อนกลับไปดูพัฒนาการของบริษัทยานภัณฑ์จะเห็นได้ว่านี่คือตัวอย่างของ SME ที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาความต่อเนื่อง จนเติบใหญ่กลายเป็นอุตสาหกรรม(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
พันศักดิ์ วิญญรัตน์ Professinal Thinker ใน 2 ทศวรรษมานี้ เขาถือเป็นนักคิดที่ทรงอิทธิพลมากคนหนึ่ง ต่อการเดินแผนยุทธศาสตร์ประเทศ โดยเฉพาะใน 2 ช่วงสำคัญ ช่วงเศรษฐกิจเติบโตครั้งใหญ่ (ยุคชาติชาย 2531-2534) และยุคการแสวงหาแนวทางใหม่หลังช่วงล่มสลายของโมเดลเศรษฐกิจเดิมในยุคปัจจุบัน (ยุคทักษิณ 2544-ปัจจุบัน) (นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
ก้าวแรกของการรื้อทฤษฎี East Asia Economic Model (EAEM) ไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ที่ปฏิเสธทฤษฎี East Asia Economic Model (EAEM) เรามีความเห็นว่า EAEM เป็นสาเหตุให้เอเชียต้องเข้าไปอยู่ในวังวนของความหายนะ ด้วยการยอมให้มีการใช้แรงงานราคาถูกในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมป้อนตลาดโลก รวมทั้งในการทำฟาร์มด้วยต้นทุนต่ำ และการผลิตผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรธรรมชาติ(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
ไม่มี consumption shift lifestyle change ในสังคม globalization มีความชัดเจนในกระบวนการผลิต กระบวนการเรียกร้อง กระบวนการบริโภค เริ่มต้นจากสถานะทางจิตและความคิดทางปัญญา ที่ตอบโต้กับวิธีคิดว่าด้วยสงครามเวียดนาม(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
"ปรับโฉม MANAGER เสนอแนว "คู่มือเผชิญชีวิตกรุงเทพฯ" หลังจากออกวางตลาดมาได้ 99 ฉบับแล้วนั้น Manager ซึ่งเป็นนิตยสารภาษาอังกฤษรายเดือนในเครือผู้จัดการก็จะปรับโฉมใหม่ ซึ่งครั้งนี้ฟังแนวคิดการปรับตัวแล้ว ฮือฮาไม่น้อย! พันศักดิ์ วิญญรัตน์ บรรณาธิการบริหาร Asia Times และ Manager เปิดเผยกับ "ผู้จัดการรายเดือน" ว่า "แนวหนังสือที่ปรับไปนั้น เน้นกลุ่มผู้อ่านที่เป็นนักธุรกิจและคนทำงานในกรุงเทพฯ ไม่ว่าผู้หญิงหรือผู้ชาย(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
"พ.ร.บ. ทุนของรัฐวิสาหกิจ เหตุใดจึงไม่มีใครผลักดันจริงจัง" เมื่อประมาณต้นเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กระทรวงการคลังเสนอร่างพระราชบัญญัติทุนของรัฐวิสาหกิจต่อคณะรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ โดยมีสาระสำคัญให้เปลี่ยนทุนของรัฐวิสาหกิจเป็น "หุ้น" เพื่อนำออกจำหน่ายแก่ประชาชนและจำหน่ายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)
หกที่ปรึกษานายกฯ "พวกผมไม่ต้องการอำนาจ" คนไทย…รอคอยผู้บริหารประเทศที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เพื่อประชาชนมานานนับสิบปี คณะรัฐบาลในวันนี้ มีเรื่องที่ต้องแก้ไขอยู่ทุกวี่ทุกวัน วันละนับสิบนับร้อยเรื่อง จำเป็นอยู่เองที่จะต้องมี "ที่ปรึกษา"(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
"ทรัพย์สินทางปัญญา" แลกกับ จี เอส พี เป็นเรื่อง "โกหกพกลมที่สุด"! กรณีปัญหา "กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา" ซึ่งทางฝ่ายอเมริกาเป็นฝ่ายรุก โดยเสนอให้ประเทศไทยและประเทศในโลกที่ 3 ยอมรับกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา โดยจะต่อรองกับการที่อเมริกาคงให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร(จี เอส พี) แก่ไทย(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2530)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us