Power Pool ทางเลือกของผู้ใช้ไฟฟ้า
แผนแม่บทการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ กำหนดให้มีการจัดตั้งตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้า (Power Pool) ในปี 2546 และจะเปิดให้มีผู้ค้าปลีกไฟฟ้าหลายราย ซึ่งผู้ใช้ไฟจะไม่จำเป็นต้องซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) อีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันท์
"หากนโยบายรัฐบาลยังไม่เปลี่ยน ก็ต้องทำอย่างนั้น"บุคคลซึ่งอยู่ในกระแสความขัดแย้งเรื่องการแปรรูปรัฐ
วิสาหกิจมากที่สุดคนหนึ่ง แม้ภารกิจของเขายากลำบากและน่าเหน็ดเหนื่อยมากเพียงใด แต่เขาก็ยอมรับและผลักดันให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง เด่นชัด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
กองทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน แนวคิดใหม่ที่คนไทยควรต้องร่วมมือ
"ใน 2 ปีที่ผ่านมา มีผู้ขอยื่นเรื่องเสนอโครงการเข้ามาประมาณ 30 โครงการ
ซึ่งถือว่าน้อยเพราะคณะกรรมการกองทุนไม่สามารถจะอนุมัติเงินตามที่ขอมาได้ทั้งหมด
เนื่องจากบางโครงการเสนอเกินความเป็นจริง และมีความหลากหลายน้อย การจะตัดสินใจอนุมัติจึงต้องชะลอไว้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
บังคับใช้ "ไร้สารตะกั่ว" ไม้แข็งสำหรับนักขับไม่รักสีเขียว
15 กรกฎาคม 2538 สถานีบริการน้ำมันของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย หรือปตท.
จะยกเลิกการจำหน่ายน้ำมันเบนซินพิเศษมีสารตะกั่วในเขตกรุงเทพมหานคร จากนั้นหนึ่งเดือนสถานีบริการน้ำมันของปตท.ทั่วประเทศจะสามารถยกเลิกการจำหน่ายเบนซินพิเศษมีสารตะกั่วได้ทั้งหมด
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
เผยสูตรใหม่ค่าไฟเพิ่ม เน้นประหยัดเป็นหลัก
เราต้องยอมรับว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมาผู้ใช้ไฟมักจะจ่ายค่าไฟต่ำกว่าความเป็นจริง
ซึ่งทำให้ผู้ใช้ไฟไม่ตระหนักในการใช้อย่างประหยัด ทางปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์
ผู้อำนวยการสำนักนโยบายพลังงานแห่งชาติ จึงได้ศึกษาและสรุปใช้สูตรค่าไฟใหม่โดยจะเริ่มใช้ในปลายปีนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
4 ขุนพลน้ำมันยุค "ชาติชาย"
มาถึงยุคที่นายกชาติชายเป็นใหญ่ในแผ่นดิน กล่าวได้ว่ามีคณะ 4 ขุนพลน้ำมันที่เป็นกุนซือสำคัญในการผลักดันแนวนโยบายเรื่องพลังงานทั้งหมด เฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องน้ำมัน ยิ่งต้องพิถีพิถันกันเป็นพิเศษ เพราะน้ำมันเพียงหยดเดียว
เป็นได้ทั้งคุณและโทษ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2533)