ปรับเปลี่ยนโยกย้ายยุคปิยสวัสดิ์
นับตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2552 บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) มีการแต่งตั้งโยกย้ายฝ่ายบริหารตามมติในเดือนต่างๆ ของคณะกรรมการฯ ดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
คนขี่หลังเสือ ไทย ไทเกอร์???
แนวคิดเรื่องสายการบินไทย ไทเกอร์ ในรูปแบบของ Low Cost Airline เป็นการสร้างรูปแบบของการแบ่งตลาดบริการการบินอย่างแท้จริงของการบินไทย ในยุคที่ "ใครๆ ก็บินได้" ด้วยราคาค่าตั๋วที่ต่ำ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ BKKDDTG “Take it or leave it”
การเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (BKKDDTG) บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) คนที่ 15 ของปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ในห้วงเวลาที่การบินไทยครบอายุขัยกึ่งศตวรรษ ดูเหมือนจะเป็นการนำพาความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มาสู่รัฐวิสาหกิจใหญ่แห่งนี้ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ท่ามกลางปัญหาหลากหลายที่กำลังรอการแก้ไข
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ผมทำได้ทุกอย่าง
วันเปิดตัว ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กับตำแหน่งใหม่ในธนาคารกสิกรไทย ในฐานะประธานคณะที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นตำแหน่งที่ไม่เคยมีมาก่อนในธนาคารแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)
บัณฑูร ล่ำซำ Role Model
ต้องยอมรับความจริงว่า ความสนใจของผู้คนในสังคมในเวลานี้ สนใจตัวตนของเขามากกว่าธนาคารกสิกรไทย และดูเหมือนว่าตัวตนของเขาได้แยกออกจากโมเดลธุรกิจของตระกูลล่ำซำมากขึ้นด้วย ถึงอย่างไรก็มีบางคนวิเคราะห์ว่าความสนใจในตัวตนของเขาในเชิงบวก ย่อมจะมีผลดีต่อภาพลักษณ์ของธนาคารกสิกรไทยอย่างมิพักสงสัย เขาเป็นภาพลักษณ์ของความต่อเนื่องของรากเหง้าสังคมไทยและรากฐานธุรกิจเก่าแก่ ที่เอาตัวรอดด้วยจิตวิญญาณของผู้มีความคิดทันสมัย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ บทบาทใหม่
เขาเป็นคนทำงานเชิงยุทธศาสตร์ในภาคราชการมากว่า 20 ปี เมื่อก้าวมาสู่ภาคเอกชนครั้งแรก ย่อมเป็นงานที่มีความหมายกับเขาพอสมควร ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจมาทำงานกับคนที่คุ้นเคยและเข้าใจกันดี ไม่เพียงแนวคิดและอุปนิสัย เขายังมีความแนบแน่นระดับรากเหง้า แม้ทั้งสองจะกล่าวเหมือนกันว่า เป็นญาติห่างๆ แทบจะไม่เรียกว่าญาติ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ คืนถิ่น สพช.
การสั่งให้ กฟผ.รายงานต้นทุนค่าไฟฟ้าและพิจารณาการปรับค่า
ไฟฟ้าอัตโนมัติ เป็นภารกิจแรกหลังกลับสู่ชายคากิจการด้านพลังงานของปิยะสวัสดิ์ อัมระนันทน์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2544)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ Technocrat-Strategist?
เขาเป็นข้าราชการไทยที่ประสบความสำเร็จสูงสุดคนหนึ่ง
ในสายตาข้าราชการด้วยกัน ในฐานะที่ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งสูงด้วยวัยยังน้อยมากคนหนึ่ง
แต่ที่สำคัญไปกว่านั้น เขาเป็นข้าราชการไทยเพียงไม่กี่คน ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายสำคัญ
(Strategic Policy) เพื่อนำไปสู่การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมพลังงานไทย อย่างเบ็ดเสร็จภายในเวลาเพียง
7-8 ปี ภายใต้แรงเสียดทานที่รุนแรง นอกจากนี้ เขายังเป็นคนรุ่นใหม่ที่ผ่านการศึกษาอย่างดีที่สุดคนหนึ่ง
ที่หลงเหลืออยู่ในระบบราชการ เพียบพร้อมด้วยรากเหง้าของวงศ์ตระกูลรากฐานที่สุดหนึ่งในสังคมไทยที่ต่อเนื่องมา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
ปฏิรูปกรมประชาสัมพันธ์ ความท้าทายใหม่
ประสบการณ์ของปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กำลังถูกท้าทายอีกครั้ง กับการปฏิรูป "กรมประชาสัมพันธ์" สื่อของรัฐที่กำลังถูกแรงกดดันจากกติกาใหม่ของรัฐธรรมนูญและพัฒนาการของเทคโนโลยี
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
Thai elite model
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ถือเป็นโมเดลคลาสสิกของข้าราชการไทยที่ทรงอิทธิพล เรื่องราวชีวิตของเขามีตำนาน และเรื่องเล่าที่เกี่ยวกับสังคมชั้นสูงในอดีต อย่างมีสีสันมากทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)