ดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ จากลูกจ้างสู่เถ้าแก่
ภาพวาดบนผนังของสำนักงาน
บล.แอสเซท พลัส คือการเลือกและใช้
สิ่งที่เห็นว่าดีที่สุดมาจากหลายๆ ศิลปิน
ผสมเข้าด้วยกันระหว่างศิลปะไทย
และศิลปะสมัยใหม่ ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนได้ดีกับอุปนิสัยของประธานกรรมการบริหาร
บริษัทแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
แอสเซท พลัส เล่นในตลาดเฉพาะทาง
ความคล่องตัวและการทำธุรกิจ ในตลาดเฉพาะทางซึ่งเป็นแนวถนัด ของบล.แอสเซท พลัส
ทำให้บริษัทสามารถฝ่าด่านวิกฤติเศรษฐกิจมาได้ และปัจจุบันได้กลายเป็นรูปแบบ ที่น่าสนใจในการทำธุรกิจ
IB
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
ก้องเกียรติ โอภาสวงการ
สัญญาณการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นเด่นชัดในกลางปีนี้ทำให้ตลาดหลักทรัพย์กลับมาคึกคักในรอบแรก ดัชนีพุ่งขึ้นจาก
200 กว่าจุดสู่ระดับกว่า 500 จุดได้ ผู้ที่อยู่ในวงการตลาดทุนทราบดีว่าสัญญาณในตลาดหุ้นมักจะวิ่งไปล่วงหน้า
ก่อนภาวะเศรษฐกิจจริงจะตามมานานถึง 5-6 เดือน ครั้นเมื่อตลาดฟุบลงอีกโดยในปัจจุบันดัชนีอยู่ที่ระดับ 40 ต้น ๆ นั้น
อาจมีหลายคนตั้งคำถามว่าแล้วเศรษฐกิจฟื้นจริงหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
ดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ "เสี่ยงให้ใหญ่ไปเลย"
ชื่อของดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ ไม่ใช่มือใหม่ในวงการตลาดทุนไทย และยังไม่ใช่ผู้ที่ล้มเหลวไปในยุคที่มีการปิดไฟแนนซ์
56 แห่งและแบงก์ถูกยึด ตรงกันข้าม เขาเป็นผู้ที่ยืนยงและ รอดพ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นโดยไม่มีบาดแผลแม้แต่น้อย
ความล่มสลายของเศรษฐกิจฟองสบู่ไม่ได้มีผลกระทบที่เป็นนัยสำคัญอันใดกับธุรกิจของเขา
บล.แอสเซทส พลัสยังคงมีงานเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ทำ M&A ปรับโครงสร้างหนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
อารมณ์ศิลป์ของ ดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ
นักธุรกิจในเมืองไทยที่ตรากตรำทำงานมาอย่างเหน็ดเหนื่อย ได้ค่าจ้างงาม
และมีความมั่นคงในหน้าที่การงาน หลายๆ คนหาทางออกด้วยการพักผ่อนใน รูปแบบต่างๆ
ทั้งออกรอบตีกอล์ฟ แล่นเรือใบ เข้าสังคมหรูหรา นักธุรกิจที่ให้รางวัลแก่ชีวิตตนเองประเภท
นี้ส่วนใหญ่จะมีนิสัยเปิดกว้าง มีเพื่อนฝูงมากมายหลายตำแหน่ง ในทางกลับกันนักธุรกิจที่ชอบเก็บตัวหรือ
low pofile ส่วนใหญ่จะเพิ่มพลังให้ชีวิตทางด้านศิลปะ บุคคล เหล่านี้จะมีอารมณ์ละเมียดละไม
มีเบื้องหลังชีวิตไม่โลด โผน หรือถูกหล่อหลอมจากชนชั้นกลางของสังคม เช่นเดียวกับ
ดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานกรรม การบริหาร บล.แอสเซท พลัส
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
"พ่อมดการเงิน คนพันธุ์ใหม่ในการตลาดทุนไทย"
ตัวละครหน้าใหม่ในตลาดทุนไทย เพิ่งจะเกิดขึ้น เมื่อ 1-2 ปีมานี้เอง หลังจากปรากฏการณ์
การซื้อ-ครอบงำ- และควบกิจการขึ้นอย่างกว้างขวาง คนเหล่านี้ ส่วนใหญ่คลุกคลีอยู่ในวงการเงินอยู่แล้ว
มีสายสัมพันธ์ที่กว้างขวาง มีความรู้ความสามารถที่ดีเลิศ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
"หน่วยลงทุน..ทางเลือกใหม่ (ที่ดี)ในการลงทุน"
"ผมว่าตลาดหุ้นเมืองไทยยังโตได้อีกมาก หากคุณมีเงิน หลับตาซื้อหน่วยลงทุนดีกว่าฝากแบงก์อีก"
เป็นมุมมองของ ก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานบริษัท แอสเซท พลัส ซึ่งก็สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
เพราะผลตอบแทนที่ บลจ. ใหม่ทั้ง 7 แห่งจ่ายล้วนจ่ายในอัตราที่สูงกว่าดอกเบี้ยเงินฝากแบงก์หรือประมาณ
20-25%
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2536)
"โอกาสที่ราคาจะไต่ถึง 1000 จุด ต้องใช้เวลาคงไม่ใช่ 3 - 4 เดือน
การที่ดัชนีราคาหุ้นไทยต้นปีไม่ขึ้นถึง 900 มันมีสาเหตุอยู่ 3 - 4 สาเหตุด้วยกัน
ประการที่หนึ่งปีที่แล้วดัชนีเราขึ้นมาถึง 127 เปอร์เซนต์ ซึ่งถือว่าสูงที่สุดในย่านนี้
และหลาย ๆ คนมองว่ามันขึ้นเร็วเกินไป จนกลัวจะเกิด COLLAPSE
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2533)
คนไทยคนแรกในสำนักงานวิจัยแบร์ริ่ง ซีเคียวริตี้
พูดถึงบริษัทที่มีอายุเก่าแก่กว่า 200 ปีของอังกฤษ บริษัทแบร์ริ่ง บราเดอร์
(BARING BROTHERS) ของตระกูล "BARRING" เชื่อแน่ว่า สำหรับคนที่ไม่ค่อยได้สนใจในธุรกิจการเงินและค้าหลักทรัพย์
คงไม่รู้จักว่า บริษัทนี้ยิ่งใหญ่เพียงไร ?
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2532)