บทเรียนจากความล้มเหลว
หลายต่อหลายครั้งที่บทสัมภาษณ์ของวาสนา ซึ่งบอกเล่าเรื่องราวของตัวเองในการสร้างแบรนด์ Naraya ปรากฏบนหน้านิตยสารหรือหนังสือพิมพ์ธุรกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
1 ร้าน 3,000 แบบ 50,000 รายการ
ความโดดเด่นและแตกต่างของผลิตภัณฑ์จากผ้าไทยพิมพ์ลายของแบรนด์ Naraya ไม่ได้อยู่ที่ราคาถูก เริ่มต้นแค่ 20 บาท ทำให้ผู้ซื้อสะดวกใจที่จะหยิบจับเงินในกระเป๋าออกมาจับจ่ายและหิ้วกลับไปใช้เองหรือฝากคนรู้จักเพียงเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
NaRaYa ผ้าไทย 400 ล้านบาท
ใครจะรู้ว่ากระเป๋าผ้าพิมพ์ลายดอกและลายตุ๊กตาสีสันสดใส ซ้ำแบบแต่ไม่ซ้ำลายฝีมือคนไทย จะขายดีถึงปีละ 400 ล้านบาท และใครจะรู้ว่าร้านขายกระเป๋าผ้าที่ว่านี้ต้องใช้เงินตกแต่งกว่า 20 ล้านต่อร้าน จากฝีมือของคนแต่งร้านให้กับหลุยส์ วิตตอง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
"นารายา" สินค้าที่ไม่อยากเลียนแบบ
"ราคา" เป็นสิ่งสำคัญที่สุดทำให้ "นารายา" เป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ นอกเหนือจากดีไซน์แบบที่หลากหลาย และคุณภาพซึ่งเป็นที่ยอมรับ มีไม่มากนักหรอกที่สินค้าในศูนย์การค้าดัง ๆ จะตั้งราคาขายเดียวกับสินค้าในตลาด "สำเพ็ง"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)