การต่อสู้ของชิน โสภณพนิช กับธนาคารอาณานิคม
ประวัติสังเขปของธนาคารกรุงเทพชิ้นนี้ จะแสดงให้ท่านเห็นว่า แรงผลักดันของประวัติศาสตร์
และมนุษย์สามารถผนึกเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์โอกาส และเทคนิคของระบบการเงินอันทันสมัย
เพื่อขยายกิจการ และแข่งขันสถาบันธนาคารอาณานิคมที่ก้าวหน้ากว่าถึง 40 ปี
ได้อย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)
ชาตรี โสภณพนิช ที่สุดของที่สุดๆๆๆ
ปีนี้ชาตรี โสภณพนิช อายุเพิ่งจะ 54 ขึ้นนั่งตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงเทพมาแล้ว
6 ปี และครอบครองอาณาจักรส่วนอื่นๆ ที่ได้รับตกทอดมาจากชิน โสภณพนิช มากว่า
10 ปี เป็นอย่างน้อย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
พัฒนสินฯ กับ ESB. โฉมหน้าใหม่ของ "ข้อมูล" การลงทุน
สิ่งที่พัฒนสินทำ เป็นการพิสูจน์ว่ากิจการที่เล็กๆ แต่มีการบริหารที่ดี
ผู้บริหารมองการณ์ไกลสามารถทำ "สิ่งใหม่ ๆ" ได้ แม้จะยังไม่อาจประเมินผลสะเทือนอันยิ่งใหญ่ได้ในเวลาสั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
ธวัชชัย ถาวรธวัช ตึกทองที่อาจจะกลายเป็นตึกตะกั่ว
ธวัชชัย ถาวรธวัช อาจจะไม่ต้องมานั่งปวดหัวเช่นทุกวันนี้กับเรื่องอนาคตของบริษัทเงินทุนแหลมทองที่ก่อนหน้าจะเกิดโครงการ
4 เมษาเคยเป็นของเขา หากเมื่อ 4-5 ปีที่แล้วเขาไม่ตัดสินใจทำโครงการสร้าง
"ตึกทอง" ขึ้นริมถนนสุขุมวิทระหว่างซอย 12 และซอย 14 เยื้อง ๆ
โรงแรมแอมบาสเดอร์
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
อำนวย วีระวรรณ กับการเปลี่ยนแปลงของธนาคารกรุงเทพ
"ผู้จัดการ" เคยเขียนถึง อำนวย วีรวรรณ มาสองครั้ง
ครั้งแรกเป็นเรื่องขึ้นปก "ผู้จัดการ" ฉบับปฐมฤกษ์ เมื่อปี 2526
ในขณะที่สื่อมวลชนอื่นยังไม่ได้จับตามองคนที่ชื่อ อำนวย วีรวรรณ นี้เลย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2529)
เมื่อดาวหางฮัลเล่ย์โผล่ที่ชั้น 30 แบงก์กรุงเทพ
"ดาวหางดวงนี้ (ฮัลเลย์) มาขึ้นชัดแจ้งอีกทีในปี พ.ศ. 2453 ขึ้น เมื่อราว
ๆ กลางปี เดือนกรกฎาคม..สิงหา...กันยา....ในระหว่างนั้น แต่ขึ้นคราวนั้นผมยังไม่เกิดแต่ถึงจะยังไม่เกิดก็อยู่ในท้องแม่
(ฮา) ... เพราะฉะนั้นนี่แหละ ... ที่ว่ามันมากับฮัลเลย์ ... มันอาจจะเป็นมันนี้ก็ได้ไม่รู้ได้ (ฮา-ปรบมือ)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)